งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
Stoicheon = ธาตุ Metron = การวัด

2 โมล (mole) หน่วยที่ใช้บอกปริมาณสาร
1 mole = 6.02 x1023 อนุภาค n = จำนวนอนุภาค NA เมื่อ n = mole NA = Avogadro’s number (6.02 x1023 อนุภาค/mol)

3 n =mol; m =mass; d =density; V =volume;
การคำนวณปริมาณสาร สารบริสุทธิ์ n = m = dv MW หรือ AW MW หรือ AW n =mol; m =mass; d =density; V =volume; MW = molecular weight AW = atomic weight

4 การคำนวณปริมาณสาร แก๊ส n = PV P=pressure (atm) V=volume (mL หรือ cm3)
RT P=pressure (atm) V=volume (mL หรือ cm3) R=gas const. ( atm L K-1 mol-1 T =temperature (K)

5 การคำนวณปริมาณสาร n = CV สารละลาย 1000 n = mol; C = molarity (M)
V = volume (mL หรือ cm3)

6 มวลโมเลกุล Molecular mass น้ำหนักโมเลกุล Molecular weight
ของทุกอะตอมในโมเลกุล g molecular weight = น้ำหนักเป็นกรัม ของสารหนึ่งโมล MW ของ Cu(OH)2 = ( ) = 97.6 g

7 สูตรเคมี (Chemical formula)
Empirical formula อัตราส่วนอย่างต่ำระหว่างอะตอมของธาตุ ในสารประกอบ Molecular formula บอกจำนวนอะตอมจริงของธาตุในสารประกอบ Structural formula แสดงโครงสร้างและพันธะระหว่างอะตอม MW หาจาก molecular formula

8 MW = ผลรวมของ AW ของทุกธาตุรวมกัน = 40+32+(16 x 4)+2(2)+2(16)
ตัวอย่าง จงหามวลโมเลกุลของ CaSO4.2H2O กำหนดมวลอะตอมของ Ca = 40, S = 32, O = 16 และ H = 1 MW = ผลรวมของ AW ของทุกธาตุรวมกัน = (16 x 4)+2(2)+2(16) = = 172 MW ของ CaSO4.2H2O = 172 ใช้เป็น herbicide, fungicide and pesticide และ เป็นส่วนประกอบของ Fehling’s solution และ Benedict’s solution ในการทดสอบ reducing sugars 8

9 ประโยชน์จากการทราบสูตรโมเลกุลของสาร
9

10 การคำนวณทางเคมี ปริมาณ อะตอม โมเลกุลของสาร
ปริมาณสัมพันธ์จากปฏิกิริยาเคมี 10

11 การคำนวณที่เกี่ยวกับ ปริมาณสารสัมพันธ์
การคำนวณสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุล ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันเกิดผลิตภัณฑ์เดียว การคำนวณจากสมการที่ดุลแล้ว สารกำหนดปริมาณ (The limiting agent) ผลผลิตทางทฤษฎี (Theoretical yield) และ ผลผลิตจริง (Actual yield)

12 1. การคำนวณสูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุลจากการวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์
ตัวอย่าง ของแข็งผลึกชนิดหนึ่งมีส่วนประกอบเป็น C, H และ O ถ้าเผาผลึกนี้หนัก g ในอากาศที่มีออกซิเจน มากเกินพอ ได้ผลิตภัณฑ์เป็น CO g และ H g ก. จงหาสูตรเอมพิริกัล ข. ถ้ามวลโมเลกุล=142 จงหาสูตรโมเลกุลของผลึกนี้

13 วิธีทำ mol C : H : O = 1.962 : 1.962 : 1.308 = 3:3:2 mol C = mol CO2
= g = 1.962x10-2 mol 44.01g/mol มวล C = (1.962x10-2 mol)(12.011g/mol)= g mol H = 2 mol H20 = 2(0.1767g) = 1.962x10-2 mol 18.015g/mol มวล H= (1.962x10-2 mol)(1.0079g/mol)= g มวล O = = g mol O = g = 1.308x10-2 mol ( g/mol) mol C : H : O = : : = 3:3:2 สูตรเอมพิริกัล = C3H3O2 จาก (C3H3O2)n => 142 = 71n; n=2 สูตรโมเลกุล = C6H6O4

14 2. ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันแล้ว ให้ผลิตภัณฑ์เดียว
2. ปฏิกิริยาของสารที่ผสมกันแล้ว ให้ผลิตภัณฑ์เดียว ตัวอย่าง 2 จากการสกัด Tl จากของผสม TlCl/Tl2O g ได้โลหะ Tl หนัก g จงคำนวณ percentage by weight (%w/w) ของTlCl ในของผสม ?

15 วิธีทำ มวล ของ TlCl และTl2O = g กำหนด มวลของ TlCl = x มวลของ Tl2O = x mol TlCl = x g/mol mol Tl2O = x g/mol จากโจทย์กำหนด มวล Tl ที่สกัดได้ = g mol Tl = = mol Tl จากTlCl + mol Tl จาก Tl2O AW (Tl) x ( X) = AW(Tl) x = %w TlCl = x100 = % 5.9018

16 3. การคำนวณจากสมการเคมีที่ดุลแล้ว

17 จงหามวลของน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ของ CH4(g) 2.000 g
ตัวอย่าง 3 จงหามวลของน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ของ CH4(g) g CH4(g) + 2O2(g)  CO2(g) + 2H2O(g) วิธีทำ mol CH4 = 1, (mol = m/MW) mol H2O mol H2O = 2 mol CH4 = 2(2.000g) = mol (16.04g/mol) มวล H2O = ( mol)(18.02g/mol) = g

18 4. สารกำหนดปริมาณ

19 วิธีทำ ตัวอย่าง 4 3Fe(s) + 4H2O(g)  Fe3O4(s) + 4H2(g)
ถ้า Fe 4 mol ทำปฏิกิริยากับ H2O 5 mol จงคำนวณ mol H2 ที่เกิดขึ้น วิธีทำ จากปฏิกิริยา mol Fe = 3 mol H2O 4 Fe 4 mol ทำปฏิกิริยากับ H2O > 5 mol H2O เป็น limiting agent mol H2 = mol H2O = 5 mol Magnetite (Fe3O4) ใช้เป็นสารดูดซับ เพื่อขจัด As(III) and As(V) ในน้ำ

20 5. ผลผลิตทางทฤษฎี (Theoretical yield) ผลผลิตจริง (Actual yield)
ผลผลิตตามทฤษฎี เป็นผลผลิตสูงสุดที่คำนวณได้ตามสมการ ผลผลิตจริง เป็นผลผลิตที่ได้จากการทดลอง %ผลผลิต = ผลผลิตจริง x 100 ผลผลิตตามทฤษฎี

21 ตัวอย่าง 5 จากปฏิกิริยาการเผาโลหะ Na หนัก g ในอากาศที่มีออกซิเจนมากเกินพอ ได้ Na2O หนัก g จงคำนวณร้อยละผลผลิตของ Na2O ที่ได้ วิธีทำ 2Na(s) + 1/2O2(g)  Na2O(s) mol Na2O = ½ mol Na = ½(4.5980g) = mol ( g/mol) มวล Na2O = ( mol)( g/mol) = g % yield Na2O = g x 100 = % g


ดาวน์โหลด ppt ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google