งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)
- abbreviated from Active Server Pages - server-side script - can be written by VBScript or JavaScript - delimiters start with <% end by %> - comment delimiter is ’ - case-insensitive ภาษา ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS) บริษัทไมโครซอฟท์เริ่มโครงการ ASP ช่วงธันวาคม ภาษานี้ถูกมองว่ามาล่าช้าเมื่อเทียบกับภาษาในกลุ่มเดียวกัน - ในธันวาคม 2541 ได้เปิดตัว ASP 2.0 ใน WindowsNT4 และ ASP 3.0 ใน Windows 2000

2 การระบุภาษาที่ใช้ใน ASP ด้วย <% %>
เช่น หรือ

3 พื้นฐาน VBScript การกำหนดตัวแปร รูปแบบ Dim ชื่อตัวแปร, ชื่อตัวแปร,....
- ตัวแปลภาษาจะเลือกชนิดของตัวแปรที่เหมาะสมเพื่อ เก็บข้อมูล -โดยชื่อตัวแปรต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร และไม่ใช่ Reserved word

4 การประกาศค่าคงที่ ค่านี้จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดทั้งสคริปต์ Const ชื่อค่าคงที่ = ค่าที่ต้องการกำหนดให้ การใช้อาร์เรย์ สำหรับการเก็บค่าชุดข้อมูล Dim ชื่ออาร์เรย์(อินเด็กซ์) เช่น Dim MyNum(2) MyNum(0) = 4 MyNum(1) = 3 Dim MyNo(2,2) MyNo(0,0) = 7 MyNo(0,1) = 4

5 Operators - Assignment Operator ใช้เครื่องหมาย = - Arithmetic Operators ^ ยกกำลัง + - * / บวก ลบ คูณ หาร \ หารแบบ integer ปัดเศษทิ้ง Mod Modulo

6 - Comparison Operators <> = < <= > >=
<> = < <= > >= - Logical Operators Not And Or Xor Eqv Imp - String Operator เครื่องหมาย “&” ใช้ในการต่อข้อความเข้า ด้วยกัน เช่น A = “Hello” B = “World” C = A & “, ”& B  - Operator XORเป็นการตรวงสอบว่ามีนิพจน์ที่มีค่าตรงกันหรือไม่ ถ้าไม่ตรงกันผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True ABA Xor B TrueTrueFalse TrueFalseTrue FalseTrueTrue FalseFalseFalse    - Operator Eqvเป็นการตรวงสอบว่ามีนิพจน์ที่มีค่าตรงกันหรือไม่ ถ้าตรงกันผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น True ABA Eqv B TrueTrueTrue TrueFalseFalse FalseTrueFalse FalseFalseTrue Operator Impจะมีผลลัพธ์เหมือนคำว่า ถ้า... แล้ว... ในเรื่องตรรกะ โอเปอเรเตอร์นี้จะมีผลลัพธ์ดังนี้ AB A Imp B TrueTrue True TrueFalse False FalseTrue True FalseFalse True

7 = <%=y%> <br>

8 Process Control Iteration - For……Next - Do……Loop Conditional - IF……Then……Else - Select Case

9 For …. Next For counter = start to end [Step step] instructions Next <% Dim N For N=1 to 5 Response.write("Welcome to ASP <br>" ) %>

10 ตัวอย่าง <HTML> <BODY BGCOLOR="#BFFFFF">
<% Dim total, n total = 0 For n = 1 To 10 total = total+1 Next %> <H2> For...Next </H2><BR> Value of total is  <%=total%><BR> Value of n is  <%=n%><BR> <HR>

11 <% Dim total1, n1 total1 = 0 For n1 = 10 To 0 Step -2 total1 = total1+1 Next %> <H2> For...Next countdown </H2> <BR> Value of total is  <%=total1%> <BR> Value of n is  <%=n1%> </BODY> </HTML>

12 ผลการทำงาน

13 Do…Loop มี 4 แบบ Do While, Do Until, Loop While และ Loop Until ทั้งหมดจะวนลูปจนเงื่อนไขเป็น False Do [{While | Until} condition] …….. Loop Do Loop [{While | Until} condition]

14 ตัวอย่าง <% Dim total total = 0 Do While total <10 total = total+1 Loop %> Value of total of Do While ... Loop is   <%=total%> <BR>

15 ตัวอย่าง (ต่อ) <% total = 0 Do Until total >10 total = total+1 Loop %> Value of total of Do Until...Loop is   <%=total%> <BR> <HR>

16 ตัวอย่าง (ต่อ) <% total = 0 Do total = total+1 Loop While total <10 %> Value of total of Do .... Loop While is   <%=total%> <BR> Loop Until total >10 Value of total of Do .... Loop Until is   <%=total%>

17 If … Then… Else If condition then ……… [Else If condition-n Then …. ] [Else ………] End If

18 ตัวอย่าง if name="Supap" then response.write("สวัสดีครับเจ้านาย")
else If name="Sumalee" then response.write("สวัสดีครับคุณนาย") else If name="Sunisa" then response.write("สวัสดีครับคุณหนู") else response.write("สวัสดีครับคุณเป็นใคร") end if

19 Select Case Select Case testexpression [Case testexpressionlist ………] [Case Else ……. ] End Select

20 ตัวอย่าง Select Case Number Case 1,2,3
response.write("Between 1 And 3") Case 4,5,6,7,8 response.write("Between 4 And 8") Case Number>8 response.write("Greater than 8") Case else response.write("Not positive number") end Select

21 Procedure มี 2 แบบคือ Subprocedure และ
Function Subprocedure คือการรวมโค้ดคำสั่งที่ต้องการใช้งาน มาไว้ที่เดียวกัน เมื่อเรียกใช้จะเป็นการนำคำสั่งมาใส่ ไว้ในตำแหน่งที่เรียกใช้ โดยสามารถที่จะส่งค่าเข้ามา ใช้ภายใน หรือไม่ก็ได้

22 Sub ชื่อsubprocedure(ค่าที่ส่ง)
…….. End Sub ถ้าไม่ต้องการส่งค่าใด ๆ ไม่ต้องใส่ค่าที่ส่ง การเรียกใช้ Call ชื่อsubprocedure(ค่าที่ส่ง)

23 <HTML> <Title>ASP Procedure</Title>
<BODY> <% Sub SumVal(a) Dim j, aSum aSum = 0 For j=1 to a aSum = aSum+1 Next %> Value of a Sum is  <%=aSum%> <% End Sub Dim i i = 10 Call SumVal(i) %> </BODY> </HTML>

24 Function ต่างจาก Subprocedure ตรงที่สามารถส่ง
ค่ากลับไปยังตำแหน่งที่มีการเรียกใช้ได้ Function ชื่อฟังก์ชัน(ค่าที่ส่ง) …….. ชื่อฟังก์ชัน = ค่าที่ต้องการส่งกลับ End Function Note ค่าที่ต้องการส่งกลับต้องเขียนที่บรรทัดสุดท้าย การเรียกใช้ ตัวแปร = ชื่อฟังก์ชัน(ค่าที่ส่ง)

25 วิธีรับส่งข้อมูลระหว่าง browser กับ server
Response Web Server Request Client

26 การส่งข้อมูลจากฟอร์ม
การส่งข้อมูลผ่านฟอร์มจะมีสองวิธีคือ GET และ POST 1. การส่งข้อมูลแบบ POST เป็นการส่งข้อมูลที่ต้องอาศัยฟอร์ม จะมีความปลอดภัยมากกว่าเพราะไม่ได้ส่งข้อมูลร่วมไปกับ URL ทำให้มองไม่เห็นข้อมูลที่ส่งไป และสามารถรองรับปริมาณการส่งข้อมูลได้มากกว่าด้วย 2. การส่งข้อมูลด้วยวิธี GET คือการส่งข้อมูลรวมเข้าไปกับ URL ด้วย ซึ่งจะทำให้ตัวแปรและข้อมูลที่กรอกในแบบฟอร์มแสดงต่อท้าย URL ที่ต้องการส่งข้อมูลไป โดยจะสามารถมองเห็นข้อมูลเหล่านั้นปรากฏในช่อง Address ของเบราเซอร์ เช่น เว็บไซต์ ข้อมูลที่ส่ง ไฟล์

27 แบบที่ 1 : ส่งด้วย method=post
<form action= "ชื่อform.asp" method=post> รับด้วย Request.Form("ชื่อ object ที่จะรับค่า") Request.Form Response.write Web Server Client Request.QueryString แบบที่ 2 : ส่งด้วย method=get <form action= "ชื่อform.asp" method=get> รับด้วย Request.QueryString(" ชื่อ object ที่จะรับค่า")

28 Object Request เป็นการรับข้อมูลจากบราว์เซอร์
เข้ามาใช้ในสคริปต์ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ข้อมูลที่ส่งจากฟอร์ม html ด้วย method=post <form action= "ชื่อform.asp" method=post > <input type=text name= "username"> </form> การรับค่า ใช้คำสั่ง ตัวแปร = Request.Form("username")

29 (1) อ่านทั้งข้อความ Request.Form (2) อ่านค่าข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งใน form Request.Form(element) (3) อ่านค่าข้อมูลใน form ที่แต่ละข้อมูลจัดเก็บค่าไว้ มากกว่า 1 ค่า Request.Form(element)(index)

30 ตัวอย่างที่ 1 สร้างไฟล์ Ex01.html เพื่อเขียนฟอร์มรับข้อมูลจากผู้ใช้ <HTML> <BODY> <form action= "Ex01.asp" method = post> Name : <input type= "text " name= "tname" > <br> ID : <input type= "text " name= "id" ><br> <input type=submit value= "Enter" > </form> </BODY> </HTML>

31 สร้างไฟล์ Ex01.asp เพื่อรับข้อมูลจากฟอร์ม
<HTML> <BODY> <% Response.write "Data in Form includes with: <br>" Response.write "Name: " &Request.Form("tname") & "<br>" Response.write "ID: " &Request.Form("id")& "<br>" %> </BODY> </HTML>

32 ตัวอย่างที่ 2 <HTML> <BODY BGCOLOR="#FFFFF0"> Please Select one or more your favorite cities. <form action="collform.asp" method = post> <select size=3 name="city" MULTIPLE> <OPTION>Madrid</OPTION> <OPTION>New York</OPTION> <OPTION>Sidney</OPTION> <OPTION>London</OPTION> </select> <input type=submit> </form> </BODY> </HTML> collform.html

33 <U>Form is </U><%=Request.Form%><br>
<U>All value of Form are </U>  <%=Request.Form("city")%> <br> Each value of Form is <% dim i For i=1 To Request.Form("city").Count %> <%=Request.Form("city")(i)%> <br> <%Next%> 1 2 3 collform.asp

34 ไฟล์ collform.html ไฟล์ collform.asp

35 2. ข้อมูลที่ส่งผ่านฟอร์มด้วย method=get
หรือข้อมูลที่ส่งต่อท้ายมากับชื่อ URL อยู่ในรูป QueryString <form action= "ชื่อform.asp" method=get > <input type=text name= "username" > </form> การรับค่า ใช้คำสั่ง ตัวแปร = Request.QueryString("username")

36 ตัวอย่าง ไฟล์ queryst.html
<BODY BGCOLOR="#FFFFF"> Please fill information to this page<hr> <form action="queryst.asp" method="get"> Your name :   <input type=text name="user"> <input type = submit value = "OK"> <input type = reset value= "cancel"> </form> </BODY> </HTML>

37 ไฟล์ queryst.asp <html> <body> Welcome <hr>
Thank you <%=Request.QueryString("user")%> that contact us.<br> See you.<hr> </body> </html>

38 QueryString หมายถึง ข้อมูลที่โปรแกรมบราวเซอร์ ส่งต่อท้าย URL ของ page ที่ต้องการเรียกใช้ ไปยัง
Web Server ซึ่งจะประกอบด้วยชื่อของข้อมูลและค่าข้อมูล queryst.html Thank you <%=Request.QueryString("user")%>

39 ไฟล์ qstring.html <HTML> <BODY BGCOLOR="#FFFFF"> Please fill information to this page<hr> <form action="qstring.asp" method="get"> Your name :  <input type=text name="user"><br> Surname :   <input type=text name="sname"> <input type = submit value = "OK"> <input type = reset value= "Cancel"> </form> </BODY> </HTML>

40 ไฟล์ qstring.asp Welcome <br> Thank you <%=Request.QueryString("user")%>&nbsp&nbsp <%=Request.QueryString("sname")%> that contact us.<br> See you.<hr> กรณีที่ข้อมูลที่ส่งมีมากกว่า 1 ตัวจะคั่นด้วยเครื่องหมาย &

41 การสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูป QueryString ทำได้ 3 วิธีคือ
1) ประกาศในช่อง Address ของโปรแกรมบราวเซอร์ 2) กำหนดผ่าน HTML Form โดยใช้ tag <FORM> …… </FORM> ที่มีการกำหนดค่า property METHOD เป็น get

42 3) กำหนดใน URL ใน property “HREF” ของ Tag
“<A>…..</A>” ใน HTML Page เช่น <A HREF=“qstring.asp?name=value”> a querystring example </A> จะปรากฏเป็นข้อความ Hyperlink ซึ่งเมื่อคลิกที่ข้อความ บน page ตัว Request จะเรียกไฟล์ test.asp พร้อมส่ง QueryString “name=value” ตามไปด้วย

43 การอ่านข้อมูลจาก QueryString
1) อ่านทั้งข้อความ Request.QueryString 2) อ่านค่าข้อมูลใดข้อมูลหนึ่งใน QueryString Request.QueryString(data-name) 3) อ่านค่าข้อมูลที่มีมากกว่า 1 ค่า Request.QueryString(data-name)(index) ใช้ Request.QueryString(data-name).Count เพื่อนับหาจำนวนข้อมูลทั้งหมด

44 Object “Request” เป็นตัวออบเจ็กต์ที่ทำหน้าที่แทน Request ที่ Client ส่งไปยัง Web Server Collection ของออบเจ็กต์ request ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลใน element ต่าง ๆ ได้แก่ - Collection “QueryString” - Collection “Form”

45 Object “Response” เป็นตัวออบเจ็กต์ที่ทำหน้าที่แทน Response ที่ Web Server ส่งโปรแกรมหรือข้อมูลไปแสดงผลยัง Browser ของ Client Method “Write” ใช้สำหรับการส่งข้อมูลจาก Web Server ไปแสดงผลยัง browser รูปแบบคำสั่ง Response.Write result

46 การควบคุมการทำงานของ browser ด้วย response
Method Redirect Response.Redirect URL URL หมายถึง URL ของ page ที่ต้องการให้ browser อ่านขึ้นมาแสดงผล ในกรณีที่ page ที่ต้องการอ่านขึ้นมาแสดงผล เก็บอยู่ใน path เดียวกับ page ที่ส่งคำสั่งไปสามารถกำหนดเฉพาะชื่อpage ก็ได้ การใช้ method นี้ จะไม่สามารถกระทำหลัง tag อื่นๆ ที่อยู่หลังtag “<body>” ได้เนื่องจากจะทำให้เกิด HTTP Header ซ้ำกับ page ก่อนหน้าได้

47 <! method Redirect for response >
<HTML> <BODY BGCOLOR="#FFFF0F"> <H2> Choose which page do you wish to display </H2> <FORM ACTION="respons2.asp" METHOD=POST> <INPUT TYPE=RADIO NAME="PageChoice" VALUE="Page1.html" CHECKED> Page Number 1 <br> <INPUT TYPE=RADIO NAME="PageChoice" VALUE="Page2.html"> Page Number 2 <br> <INPUT TYPE=SUBMIT VALUE="Choose Page">   <INPUT TYPE=RESET> </FORM> </BODY> </HTML> ไฟล์ respons2.html

48 <H1>This is PAGE 1</H1> </BODY> </HTML>
ไฟล์ respons2.asp <% Dim strChoice strChoice=Request.Form("PageChoice") Response.Redirect strChoice %> page1.html page2.html <HTML> <BODY> <H1>This is PAGE 1</H1> </BODY> </HTML> <HTML> <BODY> <H1>This is PAGE 2</H1> </BODY> </HTML>

49 3.3 JSP - ย่อมาจาก JavaServer Pages
- เป็นเทคโนโลยีของจาวาสำหรับสร้าง HTML, XML หรือตามที่ผู้ใช้ร้องขอ - มีตัวแปลภาษาคือ Tomcat Apache และ Java Compiler - พัฒนาโดย James Duncan Davidson ค.ศ.2000 ตัวแปลภาษาจะสร้าง Servlet และเปลี่ยนเป็น Byte Code สำหรับถูกเรียกใช้ครั้งต่อไป จาก JSP Source Code

50 Tag for JSP แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ scriptlet, expression และ declaration
scriptlet ใช้สำหรับเขียนคำสั่งภาษา Java ทั่วไป โดย สัญลักษณ์ที่ใช้คือ <% …… %> เช่น <html> <body> <% out.println(“Now is <br>”); out.println(new java.util.Date()); %> </body> </html>

51 Tag for JSP expression ใช้สำหรับแสดงค่าของตัวแปรหรือเมธอด
ในรูปแบบย่อ ซึ่งมีรูปแบบการเขียนดังนี้ <%= expression %> เช่น <html> <body> <%=“Now is <br>”%> <%=new java.util.Date()%> </body> </html>

52 Tag for JSP declaration ใช้สำหรับประกาศตัวแปรหรือเมธอด
ซึ่งมีรูปแบบการเขียนดังนี้ <%! declaration %> เช่น <%! public java.util.Date showdate() { return (new java.util.Date()); } %> <html> <body> Now is <br> <%=showdate()%> </body> </html>

53 Comment in JSP มี 3 แบบ คือ - ใช้ <% - comment -%>
มี 3 แบบ คือ - ใช้ <% - comment %> เขียนในไฟล์ jsp แต่ห้ามอยู่ใน Tag scriptlet, expression และ declaration - เขียนแบบ JAVA คือใช้ // หรือ /* */ โดยสามารถ แทรกอยู่ใน Tag scriptlet, expression และ declaration - ใช้ Tag แบบ HTML คือ <! > และห้ามอยู่ใน Tag scriptlet, expression และ declaration

54 3.4 Perl and CGI Perl - ย่อมาจาก Practical Extraction and Report Language - นามสกุล file .pl - พัฒนาโดย Larry Wall in 1987 - ใช้กับระบบ UNIX ในครั้งแรก และต่อมาได้พัฒนา ให้สามารถใช้กับ OS อื่น ๆ ได้ - คล้ายคลึงกับภาษา C เพราะบางคำสั่งมีหน้าที่เหมือนภาษา C CGI เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ทำงานบน web server ใน web server หนึ่ง ๆ สามารถมี cgi ได้หลาย ๆ ตัว เช่น cgi ชื่อ counter จะเป็นตัวนับจำนวนผู้ชม homepage หรือการ search ใน search engine cgi จะเอาคำที่เป็น keyword ไปเปรียบเทียบดูในฐานข้อมูล ถ้ามีจะปรากฎผลลัพธ์ส่งมาที่ browser เป็นต้น cgi จะทำงานอยู่บน server เท่านั้น การเขียน cgi จะเขียนด้วยภาษาระดับสูง แต่ภาษาที่นิยมเขียนคือ perl เพราะมีรูปแบบการจัดการข้อมูลบน internet ได้ดีกว่า

55 Perl Perl ถูกนำมาใช้ในการจัดการข้อมูลในระบบเครือข่าย Internet
และสร้าง Application ประเภทต่าง ๆ เนื่องจาก ง่ายต่อการเรียนรู้ รูปแบบและโครงสร้างการเขียนไม่ซับซ้อน มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพสูงในการจัดการข้อมูล ประเภทข้อความ และการจัดการไฟล์ เป็นภาษาสคริปส์ เขียนอยู่ในรูป text file ไม่ต้องการ compiler และ linker ในการแปลโปรแกรม แต่จะใช้ตัวแปล ภาษาที่เรียกว่า Perl Interpreter ภาษา Perl เป็นภาษาที่นิยมใช้ในการเขียน CGI ทั้งบน Unix และ Window CGI เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ทำงานบน web server ใน web server หนึ่ง ๆ สามารถมี cgi ได้หลาย ๆ ตัว เช่น cgi ชื่อ counter จะเป็นตัวนับจำนวนผู้ชม homepage หรือการ search ใน search engine cgi จะเอาคำที่เป็น keyword ไปเปรียบเทียบดูในฐานข้อมูล ถ้ามีจะปรากฎผลลัพธ์ส่งมาที่ browser เป็นต้น cgi จะทำงานอยู่บน server เท่านั้น การเขียน cgi จะเขียนด้วยภาษาระดับสูง แต่ภาษาที่นิยมเขียนคือ perl เพราะมีรูปแบบการจัดการข้อมูลบน internet ได้ดีกว่า

56 CGI - ย่อมาจาก Common Gateway Interface (CGI)
- CGI เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ทำงานบน web server อยู่ในโหมด execute คือ สามารถเรียกใช้ทำงานได้เลย เช่น ไฟล์ .exe เป็นต้น - ไฟล์ CGI จะมีนามสกุลอะไรก็ได้ ขึ้นอยู่กับระบบไฟล์และ ภาษาที่ใช้เขียน - ใน web server หนึ่ง ๆ สามารถมี cgi ได้หลาย ๆ ตัว - CGI เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะทำให้ clients ติดต่อกับ applications บน Web server CGI เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ทำงานบน web server ใน web server หนึ่ง ๆ สามารถมี cgi ได้หลาย ๆ ตัว เช่น cgi ชื่อ counter จะเป็นตัวนับจำนวนผู้ชม homepage หรือการ search ใน search engine cgi จะเอาคำที่เป็น keyword ไปเปรียบเทียบดูในฐานข้อมูล ถ้ามีจะปรากฎผลลัพธ์ส่งมาที่ browser เป็นต้น cgi จะทำงานอยู่บน server เท่านั้น การเขียน cgi จะเขียนด้วยภาษาระดับสูง แต่ภาษาที่นิยมเขียนคือ perl เพราะมีรูปแบบการจัดการข้อมูลบน internet ได้ดีกว่า

57 CGI -CGI สามารถสร้างได้โดยภาษาระดับสูง เช่น C/C++, Fortran,
Perl, Shell Script , VB, Pascal/Delphi เป็นต้น - การเลือกใช้ภาษาในการเขียน CGI ขึ้นอยู่กับ OS และ web server ว่าเข้ากันได้กับภาษานั้นหรือไม่ CGI เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่ทำงานบน web server ใน web server หนึ่ง ๆ สามารถมี cgi ได้หลาย ๆ ตัว เช่น cgi ชื่อ counter จะเป็นตัวนับจำนวนผู้ชม homepage หรือการ search ใน search engine cgi จะเอาคำที่เป็น keyword ไปเปรียบเทียบดูในฐานข้อมูล ถ้ามีจะปรากฎผลลัพธ์ส่งมาที่ browser เป็นต้น cgi จะทำงานอยู่บน server เท่านั้น การเขียน cgi จะเขียนด้วยภาษาระดับสูง แต่ภาษาที่นิยมเขียนคือ perl เพราะมีรูปแบบการจัดการข้อมูลบน internet ได้ดีกว่า


ดาวน์โหลด ppt 3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google