งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ เซตย่อยที่อยู่ภายในเซตนั้น เช่น ทารกเพศชาย หรือ ทารกเพศหญิง เป็น เซตย่อยของเพศ

2 เซต (Set) ปาสคาล สามารถประมวลผลเรื่องเซต ได้ เช่น
if ((age >= 15) and (age <= 25)) or ((age>=60) and (age <=70)) then…. สามารถเขียนให้สั้นง่ายได้ดังนี้ if age in [12..25],[60..70] then…..

3 สมาชิกเซต สมาชิกของเซต จะเขียนอยู่ในเครื่องหมาย [ ]
[] หมายถึงไม่มีสมาชิก [1,2,10] หมายถึงมีสมาชิก 1, 2 และ 10 [1..10] หมายถึงมีสมาชิก 1 ถึง 10 [‘a’..’z’] หมายถึงมีสมาชิก a,b,c จนถึง z [1..10,30..50] หมายถึงมีสมาชิกเป็น integer 1ถึง10 และ 30ถึง50

4 สมาชิกเซต [mon,tue,wed,thu,fri] หมายถึงมีสมาชิกเป็นวันตั้งแต่จันทร์ถึงศุกร์ อาจเขียน [mon..fri] ลำดับที่ และ จำนวนครั้งของสมาชิกไม่มีความแตกต่าง เช่น [1,2,3] หรือ [2,1,2,3] มีความหมายเหมือนกัน ในหนึ่งเซตมีจำนวนสมาชิกไม่เกิน 256 รายการ

5 วิธีกำหนดข้อมูลให้กับเซต
การกำหนดใช้คำสั่ง Set of มีรูปแบบดังนี้ TYPE ชื่อเซต = SET OF base type base type หมายถึงข้อมูลที่มีลำดับ

6 วิธีกำหนดข้อมูลให้กับเซต
Type dayofmonth = set of 1..31; Capletter = set of ‘A’..’Z’; primarycolor = set of (red,bule,green); day=(mon,tue,wed,thu,fri,sat,sun); week = set of day; ความหมาย 1 เดือนมีวัน 1 ถึง 30 วัน เซตตัวอักษรมี A ถึง Z เซตแม่สีมี สีแดง เขียว น้ำเงิน กำหนดเซตค่าจาก Enumerate

7 การประกาศเซต การประกาศเซต อาจกำหนดแบบค่าคงที่ภายใต้ CONST หรือ ตัวแปรภายใต้ TYPE เช่น Type digits = set of 0..9; var num : digit ; หรือ CONST odddigits := digits= [1,3,5,7,9]; evenditits:= digits= [2,4,6,8];

8 เซตแบบ Constant การกำหนดสระ TYPE LETTER = SET OF ‘A’..’Z’; CONST
VOWEL : LETTER = [‘A’,’E’,’I’,’O’,’U’]; การกำหนดเลขฐาน 16 CONST HEX : SET OF ‘0’..’Z’ =[‘0’..’9’,’A’..’F’,’a’..’f’];

9 เซตแบบ Variable VOWEL := [‘A’,’E’,’I’,’O’,’U’];
TYPE LETTER = SET OF ‘A’..’Z’; VAR VOWEL,CONSONANTS : LETTER; BEGIN VOWEL := [‘A’,’E’,’I’,’O’,’U’]; CONSONANTS := LETTER - VOWEL;

10 WEEKEND := [SUN,SAT]; TYPE day=(mon,tue,wed,thu,fri,sat,sun); VAR
WORKDAY,WEEKEND: DAY; BEGIN WEEKEND := [SUN,SAT]; WORKDAY := DAY - WEEKEND;

11 โอเปอเรชันของเซต Union Intersection Difference

12 Difference Union เป็นการรวม 2 เซต(+)เข้าด้วยกันโดยเซตใหม่ มีจำนวนสมาชิกของทั้ง 2 เซต เช่น set [‘a’,’b’] + set [‘c’,’g’,’m’] จะได้ [‘a’,’b’ ,‘c’,’g’,’m’]

13 Difference Difference เป็นการหาผลต่าง (-)ระหว่างเซต 2 เซต โดยผลลัพธ์จะเป็นสมาชิกของเซตด้านซ้าย ที่ไม่อยู่ ในเซตด้านขวามือ เช่น [‘b’…’j’] - [‘e’,’g’..’y’] จะได้ [‘b’..’d’,’f’]

14 Intersection Intersection เป็นการสร้างเซตใหม่ที่รวม( *) เอาสมาชิกที่เหมือนกันทั้ง 2 เซตเข้าด้วยกัน เช่น [2..7,10,12] * [1..5,11..6] จะได้ [2..5,12]

15 Relation Relation ความสัมพันธ์อันเกิดจากการเปรียบเทียบของเซต มีคำตอบเป็น จริงกับเท็จ มี 5 แบบคือ เซตเท่ากัน (Equality) เซตไม่เท่ากัน (Inequality) ซับเซต (Subset) ซูเปอร์เซต(Superset) เป็นสมาชิกของเซต (Set member)

16 เซตเท่ากัน (Equality)
[1,4] = [1,4] ผลลัพธ์เป็น true [1,4] = [2,4] ผลลัพธ์เป็น false [4,1] = [1,4] ผลลัพธ์เป็น true [] = [0] ผลลัพธ์เป็น false

17 เซตไม่เท่ากัน (Inequality)
[1,4] <> [1,4] ผลลัพธ์เป็น false [1,4] <> [2,4] ผลลัพธ์เป็น ture [4,1] <> [1,4] ผลลัพธ์เป็น false [] <> [0] ผลลัพธ์เป็น ture

18 ซับเซต (Subset) ซับเซต (Subset) ใช้เครื่องหมาย <=
ถ้าสมาชิกทุกตัวของเซตซ้ายมือ เป็นสมาชิกใน เซตขวามือ ผลลัพธ์เป็นจริง [1,3] <= [1,3] ผลลัพธ์เป็น true [1,3] <= [1..5] ผลลัพธ์เป็น true [‘a’,’p’] <= [‘a’,’q’..’z’] ผลลัพธ์เป็น false [1,2,3,4] <= [1,4] ผลลัพธ์เป็น false

19 ซูเปอร์เซต(Superset)
ถ้าสมาชิกทุกตัวของเซตขวามือเป็นสมาชิกในเซตซ้ายมือ ผลลัพธ์เป็นจริง [1,3] >= [1,3] ผลลัพธ์เป็น true [1,3] >= [1..5] ผลลัพธ์เป็น false [‘a’,’p’] >= [‘a’,’q’..’z’] ผลลัพธ์เป็น false [1,2,3,4] >= [1,4] ผลลัพธ์เป็น ture

20 เป็นสมาชิกของเซต (Set member)
เป็นสมาชิกของเซต (Set member) ใช้เครื่องหมาย IN ค่าทางซ้ายของ IN เป็นสมาชิกของเซตขาวมือ ผลลัพธ์เป็นจริง A IN [‘A’..’Z’] ผลลัพธ์เป็น true Z IN [‘A’..’N’] ผลลัพธ์เป็น false 5 IN [15..30] ผลลัพธ์เป็น false 10 IN [1..17] ผลลัพธ์เป็น true

21 การใช้เซตในโปรแกรม โปรแกรม 1. ( a=w) and (b=w) and (c=w)
2. ( a=w) or (b=w) or (c=w) 3. if ((age >= 15) and (age <= 25)) or ((age>=60) and (age <=70)) then…. การใช้เซต [a,b,c] = [w] w in [a,b,c] if age in [12..25],[60..70] then…..

22 การใช้เซตในโปรแกรม Read (choice); CASE choice OF ‘1’ : add;
if choice in [1,2,3,4] then CASE choice OF ‘1’ : add; ‘2’ : delete; ‘3’ : update; ‘4’: exit; end; Read (choice); CASE choice OF ‘1’ : add; ‘2’ : delete; ‘3’ : update; ‘4’: exit; end;

23 การรับและแสดงค่าในเซต
ไม่สามารถใช้คำสั่ง Read หรือ Write ได้โดยตรง เช่น var letter : set of ‘a’..’z’; write(letter); read(letter); ไม่ได้ ต้องอาศัยคำสั่ง IF หรือ Case

24 การรับและแสดงค่าตัวเลขในเซต
โปรแกรมทำการเก็บเลขคู่ และ เลขคี่เข้าไว้ในเซต พร้อมทำการพิมพ์ค่า program setget1; uses wincrt; const max = 30; type numset = set of 1..max; var odd,even: numset; i : integer;

25 การรับและแสดงค่าตัวเลขในเซต
begin odd := []; even := []; for i:= 1 to max do if i mod 2 > 0 then even := even + [i] {letter := [1..max] - odd;} else odd := odd + [i] end;

26 การรับและแสดงค่าตัวเลขในเซต
writeln('***** ODD number ********'); for i:= 1 to max do if i in odd then write(i,' '); writeln; writeln('*********even number ********'); for i:= 1 to max do if i in even then write(i,' '); end.

27 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
โปรแกรมทำการเก็บสระ และ พยานชนะเข้าไว้ในเซต พร้อมทำการพิมพ์ค่า program setget2; uses wincrt; type letterset = set of 'a'..'z'; var letter, vowels:letterset; i : char; begin vowels := []; for i:= 'a' to 'z' do

28 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
begin if i= 'a' then vowels := vowels +[i]; if i= 'e' then vowels := vowels +[i]; if i= 'i' then vowels := vowels +[i]; if i= 'o' then vowels := vowels +[i]; if i= 'u' then vowels := vowels +[i]; end; for i:= 'a' to 'z' do if i in vowels then write(i,' '); writeln; letter := ['a'..'z'] - vowels; if i in letter then write(i,' '); end.

29 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
for i:= 'a' to 'z' do if i in vowels then write(i,' '); writeln; letter := ['a'..'z'] - vowels; if i in letter then write(i,' '); end.

30 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
โปรแกรมนับจำนวนตัวอักษรที่รับจากแป้นพิมพ์ และแยกว่าเป็นสระ พยานชนะ และ อักขระอื่นๆ พิมพ์จำนวนที่นับได้

31 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
program sets3; uses wincrt; type letterset = set of 'A'..'Z'; var vowels,letter,l: letterset; count_v,count_letter,count_wrong : integer; ch,i:char;

32 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
begin count_v := 0; count_letter:= 0; count_wrong := 0; vowels := ['A','E','I','O','U']; letter := ['A'..'Z'] - vowels;

33 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
write('Enter one letter(* for end):'); ch := readkey; ch := upcase(ch); while ch <> '*' do begin if ch in vowels then count_v := count_v +1;

34 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
else if ch in letter then count_letter := count_letter +1 count_wrong := count_wrong +1;

35 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
writeln; write('Enter one letter(* for end):'); ch := readkey; ch := upcase(ch); end;

36 การรับและแสดงค่าตัวอักษรในเซต
writeln; writeln('Total vowels is ',count_v); writeln('Total letter is ',count_letter); writeln('Total non letter/vowels is ',count_wrong); end.


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google