ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น
การใช้ Zoning ในการปรับเปลี่ยน พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน ของจังหวัดขอนแก่น สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น
2
แผนที่พื้นที่นาข้าว จ.ขอนแก่น (S1+S2+S3+N) 2,719,556 ไร่
3
แผนที่พื้นที่อ้อย จ.ขอนแก่น (S1+S2+S3+N) 930,7066 ไร่
4
แผนที่พื้นที่ผลิตอ้อยโรงงาน จ.ขอนแก่น และที่ตั้งโรงงานน้ำตาล
แหล่งผลิตสำคัญได้แก่ กระนวน น้ำพอง เขาสวนกวาง เมืองขอนแก่น สีชมพู มัญจาคีรี ที่ตั้งโรงงานน้ำตาล ๑. รง.ขอนแก่น ๒.รง.มิตรภูเวียง ๓.รง.วังขนาย ๔.รง.อ่างเวียน
5
พื้นที่ปลูกข้าวของ จ.ขอนแก่น (Land used)
รวม (S1+S2+S3+N) = 2,719,556 ไร่ (S1+S2) = 1,805,850 ไร่ (S3+N) = 913,706 ไร่ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (Zoning) (S1+S2) = 4,108,460 ไร่ พื้นที่ปลูกอ้อยของ จ.ขอนแก่น (Land used) รวม (S1+S2+S3+N) = 930,706 ไร่ (S1+S2) = 825,010 ไร่
6
พื้นที่เป้าหมายจากการซ้อนทับข้อมูลในแผนที่ ดังนี้
พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (S1+S2)(Zoning) 2. S1+S2 ที่มีการปลูกอ้อยแล้ว (Land Used) 3. S3+N ที่มีการทำนา (Land Used) 4. พื้นที่ในรัศมี 50 กม. จากโรงงาน ได้พื้นที่เป้าหมาย 499,770 ไร่
7
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น
เป้าหมาย 26 อำเภอ 449,770 ไร่
8
เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวในที่ไม่เหมาะสม
การขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวในที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน จังหวัดขอนแก่น
9
การขับเคลื่อน ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม
มีคณะ กก.อำนวยการ (ผวจ. ประธาน) และคณะทำงานขับเคลื่อนฯ ระดับจว. (กษ.จ. ประธาน) ประสานงานและบูรณาการกับภาคีต่างๆ ในพื้นที่ เป็นการดำเนินการที่ได้รับประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย (Win-Win Situation) 9 9
10
จังหวัด ส่งพื้นที่เป้าหมายให้อำเภอดำเนินการ (อ.เมือง 56,533 ไร่)
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย อ.เมืองขอนแก่น จังหวัด ส่งพื้นที่เป้าหมายให้อำเภอดำเนินการ (อ.เมือง 56,533 ไร่)
11
อำเภอ ส่งพื้นที่เป้าหมายให้ตำบลดำเนินการ (ต.ดอนหัน อ.เมือง 14,418 ไร่)
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย ต.ดอนหัน อ.เมืองขอนแก่น อำเภอ ส่งพื้นที่เป้าหมายให้ตำบลดำเนินการ (ต.ดอนหัน อ.เมือง 14,418 ไร่)
12
ความสามารถในการรับผลผลิตเพิ่ม ของ รง.น้ำตาลที่ร่วมโครงการ 4 รง.
ของ รง.น้ำตาลที่ร่วมโครงการ 4 รง. รง.ขอนแก่น 500,000 ตัน (50,000 ไร่) รง.มิตรภูเวียง 1,000,000 ตัน (100,000 ไร่) รง.อ่างเวียน 300,000 ตัน (30,000 ไร่) รง.วังขนาย 270,000 ตัน (27,000 ไร่) รวม 2,070,000 ตัน (207,000 ไร่) การดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกอ้อยนั้น จะต้องจะต้องนำข้อมูลความสามารถในการรับผลิตเพิ่มของโรงงานมาพิจารณา 12 12
13
แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น
เป้าหมาย 26 อภ. 449,770 ไร่ Fสนใจ ราย 30,377 ไร่ ปลูกแล้ว 864 ราย 15,058 ไร่
14
การสนับสนุน อบรมให้ความรู้นักส่งเสริมการเกษตร เรื่องเทคโนโลยีการผลิตอ้อย นักส่งเสริมการเกษตรถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร โครงการปลูกข้าวไร่หลังรื้อต่ออ้อย (ตัดวงจรโรคใบขาวอ้อย) แปลงส่งเสริมปลูกอ้อยพันธุ์ดี/อ้อยปลอดโรคในพท. นาน้ำท่วมซ้ำซาก และพท.นาดอน (งบพัฒนา จว. / กลุ่ม จว.) ใช้เทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อลดต้นทุนการผลิต ศึกษาแปลงอ้อยที่เก็บเกี่ยวได้ 10 ครั้ง จากการปลูกครั้งเดียว 14 14
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.