งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
มันสำปะหลัง โดย ศักดา ศรีนิเวศน์ ; โทร

2 ไทอะมีโทแซม 25 % WG (Thiamethoxam)
เป็นสารเคมีกลุ่ม nicotinoid จัดอยู่ในกลุ่มวัตถุอันตรายประเภท 3 ค่า LD50 สูง ที่ทำให้หนูที่กินเข้าไปแล้วตายในปริมาณ 1563 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก. เป็นพิษต่อผึ้ง และสัตว์น้ำ

3 ค่า LD50 (มิลลิกรัม/กก. ของน้ำหนักหนู)
ระดับความรุนแรงจากพิษของสารเคมี ระดับความรุนแรง ค่า LD50 (มิลลิกรัม/กก. ของน้ำหนักหนู) รับสารพิษทางปาก ชนิดผง ชนิดน้ำ ชั้น 1 เอ (1a) 5 มิลลิกรัม หรือน้อยกว่า 20 มิลลิกรัม หรือน้อยกว่า ชั้น 1 บี (1b) 5-50 มิลลิกรัม มิลลิกรัม ชั้น 2 (II) มิลลิกรัม มิลลิกรัม ชั้น 3 (III) มิลลิกรัม มิลลิกรัม ชั้น 4 (IV) มากกว่า 2000 มิลลิกรัม มากกว่า 3000 มิลลิกรัม

4 WG คืออะไร ? แปลเป็นภาษาไทยว่า สารผสมชนิดเม็ด ต้องผสมน้ำก่อนใช้
WG คือ water dispersible granule แปลเป็นภาษาไทยว่า สารผสมชนิดเม็ด ต้องผสมน้ำก่อนใช้

5

6

7

8 อัตราส่วนการใช้สำหรับแช่ท่อนพันธุ์
4 กรัม (2 ช้อนตวง) ต่อ น้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นาน 5 – 10 นาที ผึ่งให้แห้ง แล้วจึงนำไปปลูก

9 การอ่านฉลากสารเคมี

10 จะต้องมีเครื่องหมายและข้อความ เป็นภาษาไทย ดังนี้
ฉลากสำหรับผลิตภัณฑ์ที่จำหน่าย จะต้องมีเครื่องหมายและข้อความ เป็นภาษาไทย ดังนี้ 1. ชื่อทางการค้าของผลิตภัณฑ์ (ถ้ามี) 2. ชื่อสามัญตามระบบ ISO (International Organization for Standardization) หรือชื่อสามัญในระบบอื่นๆ หรือ ชื่อสามัญเคมี

11 3. อัตราส่วนผสมและลักษณะผลิตภัณฑ์
4. วัตถุประสงค์การใช้ 5. เครื่องหมาย คำเตือน การใช้ การผสมและแสดงความ อันตราย 6. ประโยชน์ วิธีใช้ วิธีเก็บรักษา วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับภาชนะ บรรจุ และการป้องกันอันตรายหรือความเสียหาย 7. คำเตือน 8. อาการเกิดพิษ การแก้พิษเบื้องต้น คำแนะนำให้รีบส่งผู้ป่วย ไปพบแพทย์พร้อมด้วยฉลากหรือภาชนะบรรจุ คำแนะนำ สำหรับแพทย์

12 9. ชื่อกลุ่มของสารเคมีเพื่อประโยชน์ในการรักษา
10. ชื่อผู้ผลิต สถานที่ประกอบการ สถานที่ตั้งโรงงาน และ ชื่อผู้นำเข้าพร้อมสถานที่ประกอบการ 11. ขนาดบรรจุ 12. เดือน ปี ที่ผลิต หรือหมดอายุการใช้ 13. เลขทะเบียนวัตถุอันตราย ทั้งนี้การระบุชื่อทางเคมีหรือชื่อวิทยาศาสตร์ของสาระสำคัญบนฉลาก จะเป็นภาษาอังกฤษก็ได้

13 แถบสีแสดงระดับความเป็นพิษ และภาพสัญลักษณ์แสดงคำเตือน
ในการผสมและการใช้

14 แถบสีแดง แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น 1 เอ และชั้น 1 บี (พิษร้ายแรงมากและพิษร้ายแรง)
แถบสีเหลือง แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น (พิษปานกลาง) แถบสีน้ำเงิน แทนค่าความเป็นพิษของผลิตภัณฑ์ในชั้น (พิษน้อย)

15

16 ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช

17 นอนหลับไม่สนิท(1) หนังตากระตุก(2) ตาแดง(1) ตาพร่ามัว(2) แสบตา/ปวดแสบร้อน/ตาคัน(1) น้ำตาไหล(1) แสบจมูก(1) น้ำมูกไหล(1) เวียนศีรษะ(1) น้ำลายไหล(1) อ่อนเพลีย(1) ลมชัก (3) หมดสติ(3) ปวดศีรษะ(1) อาเจียน(2) หายใจติดขัด (1) เจ็บคอ(1) ไอ(1) กล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย(1) เจ็บหน้าอก (แน่นหน้าอก) (2) คลื่นไส้(2) อาการชา(1) กล้ามเนื้อ เป็นตะคริว(2) ปวดเกร็งท้อง(2) ท้องเสีย((2) ผื่นคันที่ผิวหนัง(1) ผื่นแดง ผื่นขาว ผิวแตก ตุ่มพุพอง ผิวแห้ง เหงื่อออก(1) อาการที่สังเกตเห็นหรือ รู้สึกได้ในขณะฉีดพ่นหรือเกิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังฉีดพ่นสารเคมี คันผิวหนัง(1) เดินโซเซ (2)

18 อาการที่สังเกตเห็นได้
สั่น  ผิวหนังแดง หนังตากระตุก  รอยด่างขาวบนผิวหนัง เหงื่อออกมากผิดปกติ  ผิวหนังแตกเป็นเกร็ด ตาแดง  หมดสติ/ไม่รู้สึกตัว น้ำมูกไหลมาก  ชัก ไอ  อาเจียน หายใจเสียงดัง เดินโซเซ ท้องเสีย

19 อาการที่รู้สึกได้ คอแห้ง  คลื่นไส้
คอแห้ง  คลื่นไส้ อ่อนเพลีย/เหนื่อยง่าย  น้ำลายไหลมาก นอนไม่หลับ  เจ็บคอ แน่นหน้าอก/ปวดเสียดที่ยอดอก  แสบจมูก ชา  กล้ามเนื้อเป็นตะคริว ปวดแสบตา  ปวดศีรษะ คันตา  ปวดท้องเกร็ง ตาพร่า  คันที่ผิวหนัง เวียนศีรษะ

20

21

22 ภัยเงียบที่ยังไร้คำตอบ

23 เวรกรรม ?????????

24 เวรกรรม หรือ ??????????????

25

26

27

28

29

30

31 เหตุเกิดที่เวียดนาม

32

33 เหตุเกิดที่อินเดีย

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44 อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

45 ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต ในดิน

46

47 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google