งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ส่วนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุ์พืช สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร

2 ความเป็นมา นโยบายส่งเสริมการใช้พืชพันธุ์ดี บทบาทของ ศบกต.
โครงการ 1 ฟาร์ม 1 ตำบล ศูนย์เรียนรู้ เศษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้ พันธุ์พืชอำเภอ คัดเลือกศูนย์หลัก - เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงพันธุ์พืชอำเภอ และศบ.กต.

3 วัตถุประสงค์ (พืชประจำถิ่นเพื่อการอนุรักษ์ พืชเศรษฐกิจ และพืชอาหาร)
สนับสนุนให้ชุมชนสร้างแหล่งรวบรวมพันธุ์ดี (พืชประจำถิ่นเพื่อการอนุรักษ์ พืชเศรษฐกิจ และพืชอาหาร) ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการจัดการ พันธุ์พืช ผลิต ขยาย และกระจายพันธุ์

4 เป้าหมาย - จำนวน 82,810 ราย สนับสนุนพืชพันธุ์ดี
จัดตั้งศูนย์ฯ จำนวน 223 ศูนย์ ใน 72 จังหวัด ถ่ายทอดความรู้การผลิตพืชแก่เกษตรกร - จำนวน 82,810 ราย สนับสนุนพืชพันธุ์ดี - เพื่อการเรียนรู้ 1,000 ต้น/ศูนย์ฯ - เพื่อการยังชีพ 30,400 ต้น/ศูนย์ฯ

5 กิจกรรม/งบประมาณ โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
1. คัดเลือก และฝึกอบรมเกษตรกรแกนนำ (อบรมแกนนำ 2 วัน ๆ ละ 200 บาท) 2. ผลิตเอกสาร คำแนะนำ (เอกสารเล่มละ 15 บาท) 3. สนับสนุนพันธ์พืช เพื่อการเรียนรู้ (223 ศูนย์ ๆ ละ 1,000 ต้น ๆ ละ 10 บาท) เพื่อการยังชีพ (223 ศูนย์ ๆ ละ 30,400 ต้น ๆ ละ 3 บาท = 20,337,600 บาท) 4. สนับสนุนวิทยากร ให้ความรู้ (วิทยากรพืชสวน 24 คน เพาะเลี้ยง 20 คน รวม 44 คน ๆ ละ 7 วัน ๆ ละ 1,100 บาท) 5. สรุป และประเมินโครงการ

6 วิธีดำเนินงาน 1. คัดเลือกศูนย์ฯ และเครือข่าย

7 ศูนย์ฯ (หลัก) เครือข่าย เครือข่าย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5 ราย
เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย ศูนย์ฯ (หลัก) เกษตรกรแกนนำ ราย เกษตรกร 90 ราย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย เครือข่าย เกษตรกรแกนนำ 3 - 5ราย เกษตรกร 90 ราย

8 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 2. คัดเลือกเกษตรกรแกนนำในศูนย์เรียนรู้ฯ
ศูนย์ละ ราย (แล้วแต่ขนาดของจังหวัด) 3. จังหวัดจัดเวทีหาความต้องการชนิดพันธุ์พืช และหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับพันธุ์พืชเพื่อการ เรียนรู้แก่เกษตรกรแกนนำในเรื่อง - ด้านการจัดการพันธุ์ - ผลิต/ขยาย และกระจายพันธุ์ - การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ฯ

9 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 4. ศูนย์ปฏิบัติการ (พืชสวน) สนับสนุน
- พันธุ์พืชตามความต้องการเพื่อการเรียนรู้ - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิต/ขยายพันธุ์พืช 5. เกษตรกรแกนนำของศูนย์ฯ ดำเนินการ ให้คำแนะนำในการจัดการพันธุ์ การผลิต และ ขยายตลอดจนการบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้แก่ เกษตรกรสมาชิกในแต่ละศูนย์ฯ และเครือข่าย

10 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 6. ศูนย์ปฏิบัติการ (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) สนับสนุน
- พันธุ์พืชเพื่อการประกอบอาชีพแก่เกษตรกร ผู้ประสบภัย 82,810 ราย (ยังชีพ) - วิทยากรถ่ายทอดความรู้การผลิตพืชพร้อมมอบ พันธุ์พืชเพื่อการยังชีพ

11 วิธีดำเนินงาน (ต่อ) 7. จังหวัดผลิตเอกสารคำแนะนำการผลิตพืช
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสนับสนุนให้แก่ เกษตรกรในขณะเดียวกับการสนับสนุนพันธุ์พืช เพื่อการยังชีพ 8. สรุป และรายงานผลการปฏิบัติงาน

12 แผนผังการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ศูนย์ฯ (พืชสวน) สำนักงานเกษตรจังหวัด ศูนย์ฯ (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) สำนักงานเกษตรอำเภอ ผลิตขยายพันธุ์พืชผัก สมุนไพรสนับสนุนตามความต้องการ ของเกษตรกร จัดหา/ผลิตขยายพันธุ์พืช ตามต้องการของศูนย์ฯ คัดเลือกศูนย์ฯ /เครือข่าย/เกษตรกรแกนนำ จัดเวที คัดเลือกพันธุ์พืช หาความต้องการฝึกอบรม วิทยากรถ่ายทอดความรู้การผลิต/ขยายพันธุ์พืชเพื่อการยังชีพ แก่เกษตรกรในโครงการและเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัย สนับสนุนวิทยากร ถ่ายทอดความรู้และฝึก ทักษะการผลิต/ขยาย และพัฒนาพันธุ์พืชเพื่อ การอนุรักษ์ จัดทำเอกสารคำแนะนำการผลิตพืช ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ส่งมอบพันธุ์พืชเพื่อการ ยังชีพ สนับสนุนเกษตรกรให้สนง.จังหวัด จัดฝึกอบรมความรู้ให้แก่เกษตรกรแกนนำ การคัดเลือกพืช/ผลิตขยายพันธุ์พืช การบริหารจัดการ ส่งมอบพันธุ์พืชเพื่อ การเรียนรู้ให้กับศูนย์ฯ เกษตรกรในโครงการฯ เกษตรกร ผู้ประสบอุทกภัย กระจายพันธุ์และจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนพืช

13


ดาวน์โหลด ppt โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google