ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
1. จัดประชาคม ในแต่ละหมู่บ้าน ให้เชิญ สมาชิก ศจช. หรือผู้แทนเกษตรกรที่พบการระบาดของศัตรูมะพร้าว ประมาณร้อยละ 10 ของเกษตรกรในหมู่บ้าน ประชุมหารือสอบถามพื้นที่ระบาดและพื้นที่ปลูกของเกษตรกรแต่ละรายเพื่อประมาณการพื้นที่ระบาดทั้งหมดในหมู่บ้าน (ไร่)
2
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
2. ลงพื้นที่สำรวจจริง 2.1 สุ่มในพื้นที่ 1 หมู่บ้าน อย่างน้อย 10 ราย รายละ 1แปลง กระจายทั่วทั้งพื้นที่กรณีที่หมู่บ้านใด มีแปลงปลูกมะพร้าวน้อยกว่า 10 แปลงให้สำรวจทุกแปลง 2.2 นับต้นที่แสดงอาการถูกทำลายทุกต้น แบ่งระดับการทำลาย เป็น 3 ระดับ
3
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
แมลงดำหนาม ระดับความรุนแรงของการทำลายเป็น 3ระดับ - การทำลายระดับน้อย คือ ต้นมะพร้าว มีทางใบยอดที่ถูกทำลาย ทาง - การทำลายระดับปานกลาง คือ ต้นมะพร้าวมีทางใบยอด ที่ถูกทำลาย 6-10ทาง - การทำลายระดับรุนแรง คือ ต้นมะพร้าว มีทางใบยอดที่ถูกทำลาย ตั้งแต่ ๑๑ ทางขึ้นไป หมายเหตุ -ถ้าทางใบใหม่ที่คลี่ออกมาไม่ถูกทำลายให้ถือว่าไม่มีการระบาดแล้ว
4
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
หนอนหัวดำ แบ่งระดับความรุนแรงของการทำลายเป็น 3 ระดับ ดังนี้ - การทำลายระดับน้อย คือ ต้นมะพร้าวมีทางใบเขียวที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลายตั้งแต่ 13 ทางขึ้นไป - การทำลายระดับปานกลาง คือ ต้นมะพร้าวมีใบเขียว ที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลาย 12-6 ทาง - การทำลายระดับรุนแรง คือ ต้นมะพร้าวมีใบเขียว ที่สมบูรณ์ไม่มีร่องรอยการทำลาย 5-0 ทาง
5
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
3. บันทึกข้อมูลลงใน แบบสำรวจประเมินพื้นที่ระบาดของศัตรูมะพร้าว 4. นำข้อมูลมาคำนวณพื้นที่และจำนวนรายที่พบการระบาด ตามระดับการระบาด รายงานกรมส่งเสริมการเกษตร
6
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
ตัวอย่าง การคำนวณพื้นที่ระบาด 1. สุ่มสำรวจศัตรูมะพร้าวในพื้นที่ 1หมู่บ้าน อย่างน้อย 10 แปลง รวมพื้นที่ 10 แปลง 134 ไร่ ตามตาราง
7
ระดับการระบาด แปลงที่ พื้นที่ น้อย ปานกลาง รุนแรง หมายเหตุ ไร่ (ต้น) 1 10 25 50 75 จำนวนมะพร้าว 2 15 25 ต้นเท่ากับ 3 20 100 1 ไร่ 4 12 5 6 16 70 7 30 8 9 18 รวม (ต้น) 134 245 180 220 รวม(ไร่) 9.8 7.2 8.8
8
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
2. แยกพื้นที่การระบาด จาก 10 แปลง นับจำนวนต้นที่ระบาด ต้น เท่ากับ 1 ไร่ 2.1 ระบาดน้อย 10 แปลง นับได้ 245 ต้น เท่ากับ 9.8 ไร่ 2.2 ระบาดปานกลาง 10 แปลง นับได้ 180 ต้น เท่ากับ 7.2 ไร่ 2.3 ระบาดรุนแรง 10 แปลง นับได้ 220 ต้น เท่ากับ 8.8 ไร่ 3. พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน สมมุติ 10,000 ไร่
9
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
4. คำนวณพื้นที่การระบาด ทั้งตำบล แยกความรุนแรง พื้นที่ระบาดน้อย (ข้อ 2.1) x พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน (ข้อ 3) พื้นที่สุ่มสำรวจ 10 แปลง (ข้อ 1) 9.8 x = 731 ไร่ 134
10
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
พื้นที่ระบาดปานกลาง (ข้อ 2.2) x พื้นที่ปลูกทั้งหมู่บ้าน(ข้อ 3) พื้นที่สุ่มสำรวจ 10 แปลง (ข้อ 1) 7.2 x = 537 ไร่ 134
11
การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูมะพร้าว
ตัวอย่าง การคำนวณจำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน - จำนวนเกษตรกรที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมู่บ้าน เท่ากับ 1,000 ราย - จำนวนเกษตรกรเจ้าของแปลงที่สำรวจ 10 แปลง เท่ากับ 10 ราย - จำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายจาก 10 แปลง เท่ากับ 7 ราย ประมาณการจำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน เกษตรกรที่ปลูกมะพร้าวทั้งหมู่บ้าน x จำนวนรายของเกษตรกรที่ได้รับความเสียหายในหมู่บ้าน จำนวนเกษตรกรเจ้าของแปลงที่สำรวจ 10 แปลงเท่ากับ 10 ราย แทนค่า = 1 ,000 ราย x 7 ราย = ราย 10 ราย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.