งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุคใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุคใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุคใหม่

2 แนวโน้ม วิสัยทัศน์ไอซีที เพื่อการทำนโยบาย และวางแผนในองค์กร

3 สังคม การอยู่ร่วมในนิเวศน์+ดิจิตอล Digital Ecology System
สังคม = การอยู่ร่วมกัน คน กับ คน คน กับ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมรอบตัวคน คน กับ สิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันของ คน กับสิ่งแวดล้อมทางดิจิตอล ที่ทำให้องค์กรต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม

4 นิยามความสัมพันธ์-Social Network
เครือข่ายความสัมพันธ์

5 สามแนวทางที่ทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่
การประมวลผลเป็นไปตาม กฎของมัวร์  เร็วขึ้น  เล็กลง  กำลังไฟน้อยลง  ถูกลง การเชื่อมต่อเป็นไปตาม กฎเมตคลาฟ  เพิ่มแบนวิดท์  ช่องสื่อสารถูกลง ต้องประมวลผลโดยการคลื่อนย้ายข้อมูลให้น้อยและสั้นที่สุด การจัดเก็บข้อมูล ขนาดจุมากขึ้น เล็กลง ถูกลง

6 ทำงานร่วมกันในไซเบอร์
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ไซเบอร์ และองค์กรอิเล็กทรอนิกส์เพราะการรับรู้ข่าวสารได้เท่าเทียมกัน โครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนไป Transition แบบดั้งเดิม ก้าวตามเทคโนโลยี อุดมคติในอนาคต รวมศูนย์ (Centralized) กระจาย (Distributed) ทำงานร่วมกันในไซเบอร์ (Collaborative) เน้นศูนย์กลางที่ตัวสินค้า อำนาจอยู่ที่ตำแหน่งงาน การรวมในแนวดิ่ง Predictability การวางแผนระยะยาว จัดการ/แรงงาน พุ่งที่แก่นการบริการ อำนาจอยู่ที่ปัญญา การรวมแบบไซเบอร์ Proactive วางแผนแบบปรับได้ เน้นภูมิปัญญาของคน เน้นการบริการและลูกค้า อำนาจอยู่ที่สารสนเทศ การรวมขยายแนวราบ Responsive/Flexible การวางแผนกระชับและสั้นลง รูปแบบการทำงาน

7 มูลเหตุที่ต้องเปลี่ยน วิธีคิดทางด้านการบริหารจัดการ
แรงกดดันที่สำคัญ ลูกค้าและผู้ใช้บริการเปลี่ยนไป เทคโนโลยีพัฒนาเร็ว สังคมเปลี่ยนแปลงไปมาก เกิดเครือข่ายสังคม การปรับเปลี่ยนขององค์กร หาวิธีการขับเคลื่อนผักดันแผนยุทธศาสตร์ หารูปแบบการทำงานแบบใหม่ หาวิธีการรื้อปรับระบบใหม่ สร้างพันธมิตรร่วม ใช้สื่อใหม่ สื่อสังคม ใช้อิเล็กทรอนิกส์ - e ผลของข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี สื่อสังคมและวิธีการเรียนรู้ใหม่ ท้าทายการใช้เทคโนโลยี

8 แรงกดดันต่อการดำเนินการและการบริหารจัดการในองค์กร
ความต้องการใหม่ Global Competitive Changing Workforce Powerful Student Regulation/Deregulation Government สังคม Ethics เทคโนโลยี EC + ELearning Innovation แรงกดดันที่มีผลต่อการบริหารงานแบบใหม่ เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว สังคมและการเมืองเปลี่ยนไป แล้วผู้บริหารต้องทำอย่างไร?

9 มาดูกลไกที่ทำให้เปลี่ยนแปลง พลังแห่งการเรียนรู้มีสูงขึ้นมาก มี Visibility และ Accessibility สูงขึ้นมาก

10 ต้องทันโลก ทันเทคโนโลยี ใช้แนวคิดใหม่ เพื่อการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้
การเรียนรู้ในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยี ด้านการจัดการความรู้ การแสวงหา การเข้าถึง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการคิดต่อยอด การใช้ความรู้

11 ตัวแปรสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

12 เข้าใจการแบ่งกลุ่มคนตามสากล ตามแนวการเปลี่ยนแปลงการใช้ไอที
Generation X บุคคลที่เกิดก่อน 1981 Generation Y บุคคลที่เกิดระหว่าง Genration i บุคคลที่ใช้ i ต่างๆ ในยุค i เกิดหลังปี 1994 สำรวจตัวเองว่า เป็นคนรุ่นไหน

13 คนรุ่น i ผู้ที่จะก้าวเข้ามาทำงานในองค์กร
Parallelism Connectivism Virtualization Cloud computing

14 การทำงานแบบขนาน(Parallelism)
ทำการบ้าน ฟังเพลง ดูทีวี แชต ฯลฯ ในเวลาเดียวกัน การทำงานที่ส่งผลมาจากคอมพิวเตอร์เปิดได้หลายจอ ทำงานพร้อมกันในเวลาเดียว 14 14

15 มีการเชื่อมต่อระหว่างกัน (Connectivism)
จาก Centralized สู่ Decentralized

16 เครือข่ายเป็นศูนย์กลางของทุกอย่าง Web 2.0 ทำให้เชื่อมต่อถึงกัน
โปรแกรมและข้อมูลการให้บริการอยู่บนเครือข่ายไม่ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เครือข่าย โปรแกรมประยุกต์และข้อมูล โอเอส ข้อมูล คลื่นลูกที่สาม คอมพิวเตอร์เป็นส่วนหนึ่งชองการให้บริการเครือข่าย

17 Visualization and Virtualization จินตนาการ และการเสมือนจริง
คนรุ่นใหม่อ่านการ์ตูน Visualization and Virtualization จินตนาการ และการเสมือนจริง

18 Avatar การมีตัวตนใหม่ใน Virtual Space
Avatara อวตาร(Sanskrit: अवतार, IAST Avatāra) in Hindu philosophy is the 'descent' or incarnation of a divine being (deva) or the Supreme Being (God) onto planet Earth อวาตาร์ การเกิดตัวตนใหม่ นำมาใช้แทนตัวตนในโลกไซเบอร์ ตัวอย่างแทนตัวตนในเกม ทำไมเด็กติดเกม ใน Virtual Space

19 การมีอาวาตาร์ตัวตนใหม่ในโลกเสมือนจริง

20 ชีวิตบนสองโลก Real and Virtual

21 Visualization and Virtualization จินตนาการ และการเสมือนจริง

22 การแยกระหว่างคนสองรุ่น รู้จักกับคำศัพท์ต่อไปนี้ไหม
เมพ lnw เกรียน อนิเมะ ติงนัง โอตาคุ กันดั้ม n00p

23 คนยุค i รู้การประยุกต์ใช้เหล่านี้ดีในเครือข่ายสังคม
เครือข่ายสังคม HI 5, Facebook เครือข่ายฝูงชน Crowd source - Wikipedia เครือข่าย bit torrent peer to peer เครือข่ายแบ่งปันข้อมูล You tube, Fickr เครือข่ายการพูดคุยกัน MSN, Skype เครือข่ายการสร้างห้อง Virtual เช่น Cam frog, Video Conference การสร้าง Web Service

24 วิกิพีเดีย เป็น Crowd source บนพื้นฐาน by people, for people
มีการสร้างสังคม community online พัฒนาเนื้อหาแบบ ground up ให้ผู้อ่านช่วยแจ้ง แก้ไข และบอกสิ่งที่ไม่ชัดเจน เป็นปัญหา “Wisdom of crowd”

25 รูปแบบการศึกษาพึ่งเทคโนโลยี
การเข้าถึงองค์ความรู้ได้ง่าย เร็ว และมาก มีครู 3 คน – อากู๋, น้องวิกี้ และอีตูป

26 สมองมีไว้ทำอะไร? Google บอกตำแหน่งข้อมูลที่ต้องการ
Wolframalpha บอก Explicit knowledge ที่ต้องการ ที่เหลือ ตัด ปะ

27 การเรียนรู้แบบใหม่

28 การเคลื่อนย้ายข้อมูลที่รวดเร็ว
ความสำคัญอยู่ที่การให้อุปกรณ์ในเครือข่าย มีความฉลาดที่โอนย้ายข้อมูลระหว่างกันเองได้ ภายใต้การทำงานแบบ Web Service มีซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายมาก ให้ทำงานร่วมกันระหว่าง Agent

29 ชีวิต กับ สื่อใหม่ สื่อสังคม สื่อดิจิตอล

30 Digital media New media Social media
การก้าวสู่สื่อใหม่ Digital media New media Social media

31 ยุค 1990s ก้าวสู่สื่อใหม่ new media
สื่อใหม่ที่อ่านด้วยขีดความสามารถของ คอมพิวเตอร์ เช่น วิดีโอ, ซีดีรอม, วิดีโอเกม, ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์, เพาเวอร์พอยต์, แอนิ เมชั่น… สื่อที่ไม่ใช่สื่อแบบดั้งเดิม (สื่อสิ่งพิมพ์, ทีวี, วิทยุ, การประชุม)

32 ปี 2007: เทคโนโลยี + การสื่อสาร + ความคิด + ออกแบบ + เพื่อสังคม = สื่อสังคม
ทั้งหมดที่เป็นดิจิตอล + อีเมล์, เว็บไซต์, อนุทินบนเว็บ/ปูม บันทึก Logs (Blogs), สตรีมมิ่งวิดีโอ, วิกิ (เครื่องมือเขียนร่วมกัน), พอดคาส ติ้ง (การส่งเอ็มพีสาม ; การดาวน์โหลดบนไอพอดหรือเครื่องเล่นอื่น , เว็บที่โต้ตอบกันได้ & ทีวี & โทรศัพท์มือถือ SMS, RSS

33 สื่อสังคม social media หรือ new media คืออะไร
วิธีการที่ให้ผู้คนแบ่งปันข้อมูล ความคิดเห็น ทัศนคติ ประสบการณ์ มุมมอง และสื่อข้อมูลของตน” Social media คือ…สื่อที่สามารถเขียน แก้ไขด้วยตนเอง …สื่อที่ใช้กันมากในขณะนี้ …สื่อสำหรับสนทนาระหว่างกัน …สื่อที่แพร่หลาย กระจายตัวเร็ว …สื่อที่มีการบันทึกและจัดเก็บไว้ได้ Source:

34 ตัวอย่างสื่อสังคม fail.in.th

35 ทำไมต้องมีตัวตนบนเว็บ
Web เป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก Web เป็น Open access Web กำลังเป็นแพลตฟอร์มของการดำเนินการที่สำคัญ Web เป็นแหล่งปรากฏตัวได้ดีที่สุดในปัจจุบัน Web มีพัฒนาการที่ก้าวหน้าเร็ว มีการประยุกต์การทำงานได้กว้างขวางขึ้น Web เป็นฐานที่สำคัญของทุกคน

36 โลกบนเว็บกำลังเติบโตและสำคัญ
ตัวตนในโลกเสมือนจริง (Avarta) การมีพื้นที่อยู่ (Location and Area) การมองเห็นได้ (Visibility) ขนาด จำนวน (Sizing) การเชื่อมโยงเข้าหากัน (Link)

37 การเปลี่ยนแปลงระบบสื่อสารมวลชนเข้าสู่สื่อสังคมมวลชน
สื่อแบบเดิม โทรทัศน์ ควมคุมโดยสถาบัน Observe ภาพยนตร์ ศูนย์กลางสื่อ วิทยุ พิมพ์ หนังสือพิมพ์ การ กระจาย ข่าวสาร สื่อสังคม เขียนสื่อ blog พอตแคส ผู้คน Vlog บล็อกสเฟีย การบริโภค ของสังคม ฟอลัมน์ Pull วิกิ ควมคุมโดยผู้บริโภค แพลตฟอร์ม เว็บ 2.0 ที่มา : Hinchcliffe, D., Web 2.0 Blog, web2.wsj2.com 37

38 ยุค You : ผู้บริโภคสร้างเนื้อหาได้มหาศาล
เข้าแทรกแซงสื่อแบบเดิมโดยสิ้นเชิง มีบล็อกโพส 900,000 บล็อกต่อวัน มีวิดีโออัพโหลดกว่า 100,000 เรื่องต่อวัน มีการใช้ search หลายสิบล้านต่อวัน Video Blogs music Podcast rating tagging Consumption ผู้พิมพ์ หลายพันคน Feedback loops ข้อมูลในเว็บ ผู้บริโภคหลายสิบล้านคน สรางเนื้อหา You ที่มา : Hinchcliffe, D., Web 2.0 Blog, web2.wsj2.com

39 พัฒนาการสื่อ 1 $ $ $ การกระจ่ายข่าวแบบ Broadcast “ เราบอกคุณ “
ตัวอย่าง หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ทีวีช่อง 9 บรรณาธิการข่าว / ผู้ประกาศข่าว ซื้อหน้าโฆษณา ซื้อการโฆษณา การโฆษณาบนทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ $ หนังสือพิมพ์ วารสาร ทีวี วิทยุ $ $ ผู้รับข่าวแบบเฉื่อยเฉย ผู้ฟัง ที่มา:

40 พัฒนาการสื่อ 2 $ $ $ (เริ่มมีปฏิสัมพันธ์) $ $ $ $ รายใหญ่
“ บอกเราว่าคุณคิดอย่างไร ตามที่เราบอกคุณ ” ตัวอย่าง : ทำออนไลน์ หรือเว็บออนไลน์ บรรณาธิการข่าว / ผู้พิมพ์ข่าว รายใหญ่ ซื้อสื่อที่มีการ เคลื่อนไหวมาก เพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ $ หนังสือพิมพ์ วารสาร ทีวี วิทยุ ฟอรั่ม การจัดเรตติ้ง การเสนอแนะ $ $ ผู้ร่วมแสดง ความคิดเห็น $ รายเล็ก ซื้อสื่อที่มี การเคลื่อนไหว น้อย $ $ $ ผู้รับข่าวแบบเฉื่อยเฉย ผู้ฟัง ที่มา:

41 ตัวอย่าง : วิกิพีเดีย บล็อก เฟสบุก
พัฒนาการสื่อ 3 (สื่อสังคม) “ บอกซึ่งกันและกัน ” ตัวอย่าง : วิกิพีเดีย บล็อก เฟสบุก ร่วมกันจัดพิมพ์ สร้างกลุ่ม เป้าหมายเฉพาะ การพูดคุยเฉพาะเรื่อง เฉพาะกลุ่ม กระจายเชื่อมระหว่างกลุ่ม $ แบ่งปันรายได้ ผู้ร่วมสร้าง จ่ายเฉพาะ $ ผู้ฟัง / ผู้รับข่าว ที่มา:

42 ยุค You : ผู้บริโภคสร้างเนื้อหาได้มหาศาล
เข้าแทรกสื่อแบบเดิมอย่างสิ้นเชิง ผู้แทรกแซง มีบล็อกโพส 900,000 บล็อกต่อวัน มีวิดีโออัพโหลดกว่า 100,000 เรื่องต่อวัน มีการใช้ search หลายสิบล้านต่อวัน Video Blogs music Podcast rating tagging Consumption ผู้พิมพ์ หลายพันคน Feedback loops ข้อมูลในเว็บ ผู้บริโภคหลายสิบล้านคน สรางเนื้อหา You ที่มา : Hinchcliffe, D., Web 2.0 Blog, web2.wsj2.com

43 Social media คืออะไร Social media คือ Conversation ที่สนับสนุนโดยเครื่องมือที่ออนไลน์ถึงกัน ที่มา

44 ตัวอย่างสื่อสังคมที่ควรรู้จัก

45 ระบบการค้นของกูเกิ้ลเปลี่ยนไป
ให้ความสำคัญ การรับรอง ของข้อมูลในเครือข่ายสังคมมากขึ้น ให้ความน่าเชื่อถือในการให้ข้อมูลที่มีการควบคุมกันเอง ให้ความสำคัญของข้อมูลที่กระจายโดย end user

46 ลองค้นกูเกิ้ล คำว่า อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ลองค้นกูเกิ้ล คำว่า อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ชีวะ&hl=en&safe=off&prmd=iv&ei=COJtTJnZGZK engfRvcjLBw&start=10&sa=N ผลที่ได้ 1. เว็บตัวเอง 2. เว็บราชการที่มี “site links” 3. Wikipedia 4. Facebook 5. ข่าวออนไลน์ 6. Hi5 7. Twitter 8. Wikiquote 9. YouTube video 10. รูปภาพ

47 ลองค้นคำอื่นดู หลินปิง สิ่งที่ได้ส่วนใหญ่อยู่ใน social media
สิ่งที่ได้ส่วนใหญ่อยู่ใน social media

48 วิกิพีเดีย ปัจจุบัน (2010) วิกิพีเดีย
มีจำนวนบทความประมาณ 17 ล้านบทความ ใน 265 ภาษา มีผู้ใช้มากกว่า 50 ล้าน hits/day ขณะที่ Britanica มีบทความประมาณ 120,000 บทความ

49 Social media ที่ใช้กันมากๆ
สร้างเนื้อหาโดย end user

50 เฟสบุก เครือข่ายสังคมที่มีผู้ใช้มากกว่า 500 ล้านคน
เชื่อมโยงเพื่อสนทนา แลกเปลี่ยน แบ่งปันข้อมูล บล็อก รูปภาพ วิดีโอ ประสบการณ์ ความคิดเห็น จุ๊กจิ๊ก… Meeting communication and collaborating informally.

51 การเชื่อมโยงในเฟสบุก
สร้างกราฟโดย TouchGraph

52 ทวีตเตอร์ รับข่าวสั้น, ทันเวลาจากหน่วยงาน บุคคลหรือ องค์กร
Twitter คือแหล่งข่าวที่จะทำให้ติดตามความเคลื่อนไหวได้เร็ว. ง่ายที่จะติดต่อและรับรู้ในเรื่องต่างๆของสิ่งที่เราอยากรู้ 

53 โลกที่สองในสังคมใหม่ (Second Life)
บริษัท โทรศัพท์มือถือ หลายบริษัท สร้างตัวตนในนี้ มีการโฆษณาสินค้าในนี้ ที่มา :

54 Foursquare เครือข่ายสังคมบนมือถือที่บอกตำแหน่งผู้ใช้ได้
ที่มา:foursquare.com

55 เครือข่ายช่วยสร้าง Information Climate ทางการทำงาน
ก่อให้เกิด การเรียนรู้แบบใหม่ Cloud Learning

56 การใช้สื่อสังคมนำเสนอองค์กร

57

58 การใช้สื่อสังคม Viral marketing

59 การรวมกลุ่มมากกว่าห้าแสนในเฟสบุคสร้างเครือข่ายสังคม

60 การใช้วิกิ เป็นเครื่องมือเก็บสะสมความรู้

61 การพัฒนาสู่ Mobile application

62 เครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
iPad eBook Reader จากค่ายแอปเปิ้ล

63 อีกไม่นานหนังสือจะอยู่ในรูปอีบุค
Kindle eBook reader จากค่ายร้านหนังสืออะเมซอล

64 กรณีศึกษาของเยาวชนรุ่นใหม่ Cubic creative กับการใช้เครือข่ายสังคมบริหารงาน
คิวบิก (Cubiccreative.org) องค์กรเยาวชนแห่งการเรียนรู้ที่สนุก...มาก คำจำกัดความสั้นๆ ที่รวมเอา 3 คำสำคัญอันได้แก่ เยาวชน, การเรียนรู้ และ สนุก...มาก มาเชื่อมโยงเป็นมิติทั้ง 3 ของลูกบาศก์สร้างสรรค์ หรือ คิวบิกครีเอทีฟ (Cubic Creative) นั่นเอง

65 Cubic Pneuma The Whole New Perspective for Every Organization (ขั้นตอน Awareness ในห้ามิติ)
Knowledge เข้าใจความรู้ ความรู้เป็นสิ่งที่มีคุณค่า รู้จักค้นหา ถ่ายทอด จัดเก็บ Objective สร้างเป้าหมายที่ชัดเจน ให้ความสำคัญ มีความยืดหยุ่น ไม่ยึดติด Possibilities มีทางเป็นไปได้หลายทาง วางแผนล่วงหน้า จัดการความเสี่ยง มีความคิดสร้างสรรค์ Technology เข้าใจเทคโนโลยี เสาะแสวงหามาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่าย Moral เข้าใจในกรอบศีลธรรม คุณธรรม เห็นประโยชน์และโทษ

66 สุดท้ายความสำเร็จอยู่ที่บุคลากร
บุคลากรในองค์กรมีความสำคัญที่สุด การเชื่อมต่อ (a) เทคโนโลยีไอซีที บุคลากร ฮาร์ดแวร์ ทำงานตาม คำสั่งของ ซอฟต์แวร์ บุคลากร ทำงานตาม คำสั่งของ กระบวนการ การทำงาน ข้อมูล (b)

67 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ต้องมีการวางแผนที่ดี มีเส้นทางที่ชัดเจน ต้องได้รับการใส่ใจอย่างจริงจังของผู้บริหาร ต้องรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ต้องเรียนรู้ และรับการถ่ายเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ ต้องวางรากฐานในองค์กรให้มั่นคงแข็งแรง ต้องให้ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม และจริงจัง ความสำเร็จขึ้นอยู่กับบุคคลมากที่สุด

68 จะมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง ที่ทุกหน่วยงานต้องพิจารณา
อนาคต ไอที จะมีบทบาทที่สำคัญยิ่ง ที่ทุกหน่วยงานต้องพิจารณา

69 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุคใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google