ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
สื่อการเรียนการสอน วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
2
บทที่1 การใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสาร
1.1 การสื่อสารจะสัมฤทธิ์ผลได้นั้น ผู้ส่งสารจะต้องมีความรู้ และประสบการณ์ในเรื่องที่จะสื่อสารเป็นอย่างดี รวมทั้งผู้ส่งสารจะต้องมีความสนใจ และความรู้สึกที่ดีต่อการสื่อสารนอกจากนี้ผู้ส่งสารยังจะต้องมีทักษะในการใช้ภาษา จึงจะสื่อสารได้ตรงตามเจตนา
3
1.2.1 คำที่มีความหมายกว้างและแคบ 1.2.2 คำที่มีความหมายตรงและอุปมา
1.2 การใช้ถ้อยคำถูกต้องตรงตามความหมาย 1.2.1 คำที่มีความหมายกว้างและแคบ 1.2.2 คำที่มีความหมายตรงและอุปมา 1.2.3 คำที่มีความหมายคล้ายคลึง หรือใกล้เคียงกัน 1.2.4 คำที่มีรูป และเสียงพ้องกัน
4
1.3 การใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับบุคคล
1.3.1 การใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับเพศ 1.3.2 การใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับวัย 1.3.3 การใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับฐานะ 1.3.4 การใช้ถ้อยคำเหมาะสมกับวงการ
5
1.4 การใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับโอกาส
ผู้ส่งสารจะต้องพิจรณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับโอกาส จึงจะแสดงว่าผู้ส่งสาร มีความรู้ และสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะการใช้ภาษาตามโอกาสจำแนกได้ ๒ ลักษณะ คือ การใช้ถ้อยคำอย่างไม่เป็นทางการ และ การใช้ถ้อยคำในวงราชการ วงการศึกษา
6
บทที่2 การใช้ถ้อยคำอย่างมีประสิทธิภาพ
ภาษาไทยมีคำให้เลือกใช้เป็นจำนวนมาก แต่ละคำมีความหมายแยกแยะได้อย่างมีละเอียดละออ ซึ่งเอื้อประโยชน์ให้ผู้ส่งสารสามารถเลือกใช้คำให้ตรงจุดประสงค์ หรือความต้องการได้มาก
7
2.2 การเรียบเรียงถ้อยคำ หมายถึง การนำคำมาเรียงต่อกันเพื่อให้เกิดความหมายตามที่ต้องการ ได้แก่ คำประสม คำซ้อน คำคู่ วลี ประโยค สำนวน และโวหาร
8
2.3 การใช้ถ้อยคำในประโยค
2.3.1 การเรียงลำดับคำไม่เหมาะสม 2.3.2 การใช้คำเกินความจำเป็นหรือใช้คำซ้ำกันบ่อย ๆ 2.3.3 การใช้คำไม่คงที่ 2.3.4 การใช้คำแสดงความรู้สึกในทางลบ 2.3.5 การใช้คำที่มีความหมายกำกวม 2.3.6 การใช้คำที่มีความหมายขัดแย้ง 2.3.7 การใช้คำผิดความหมาย 2.3.8 การใช้คำฟุ่มเฟือย
9
2.4 การใช้ถ้อยคำอย่างมีศิลปะ
2.4.1 เป็นคำพูดที่ทำให้เกิดความสบายใจ 2.4.2 เป็นคำพูดที่ทำให้เกิดความภูมิใจ 2.4.3 เป็นคำพูดที่รักษาน้ำใจ 2.4.4 เป็นคำพูดที่ให้กำลังใจ
10
บทที่3 การวิเคราะห์และประเมินค่าจากการรับสาร
การวิเคราะห์สาร เป็นกระบวนการพิจารณาแยกแยะ ส่วนประกอบของสารหลังจากที่ได้รับรู้ข่าวสารแล้ว การสิเคราะห์เป็นการสรุปความรู้ ความคิดที่ได้จากอ่าน การดู และการฟังสารนั้นๆ อันจะส่งผลให้ผู้รับสารเป็นผู้รอบรู้มีเหตุผล เข้าถึงสารเหล่านั้นอย่างแท้จริง
11
3.2 ความหมายของการวิเคราะห์สาร
หมายถึง การพิจารณาไตร่ตรองอย่างละเอียดถีถ้วน และแยกแยะส่วนต่างๆ ของสารได้อย่างมีเหตุผล
12
3.3 ประโยชน์ของการวิเคราะห์สาร
ได้รับความรู้ เป็นการเพิ่มพูนความคิด สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ ได้รับคติ ข้อคิด และความสนุกสนานเพลิดเพลิน ทำให้เป็นนักวิจารณ์
13
3.4 หลักการอ่านเพื่อการวเคราะห์สาร
อ่านอย่างคร่าว ๆ อ่านเฉพาะชื่อเรื่อง คำนำ สารบัญ หัวข้อใหญ่ๆ หัวข้อย่อย อ่านเนื้อหาทั้งหมด เพื่อจับใจความสำคัญ อ่านข้อความที่น่าสนใจ และส่วนที่เห็นว่าเป็นศัพท์ สำนวนที่ต้องการแปลความหมายหรือตีความ ตลอดจนทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำ วลี และประโยคที่ซับซ้อนเพื่อที่จะได้เข้าใจอย่างชัดเจน อ่านทบทวนหัวข้อต่างๆ อย่างละเอียดอีกครั้งเพื่อหาแนวคิด ความต้องการ หรือวัตถุประสงค์ของผู้เขียน
14
3.5 วิธีการอ่านเพื่อวิเคราะห์สาร
อ่านเพื่อเข้าใจเรื่อง อ่านเพื่อเก็บใจความสำคัญ อ่านเพื่อวิเคราะห์ อ่านเพื่อตีความ อ่านเพื่อประเมินค่า
15
3.6 ขั้นตอนการวิเคราะห์สาร
1.การวิเคราะห์สาร พิจารณารูปแบบว่า เป็นร้อยแก้ว หรือ ร้อยกรอง แยกเนื้อหาเป็นตอนๆ พิจรณาว่าผู้เขียนมีกลวิธีในการนำเสนอเรื่องอย่างไร 2.การวินิจสาร พิจารณาเนื้อความว่าข้อใดเป็นข้อเท็จจริง เรียงลำดับความสำคัญ ผู้เขียนมีเจตนาที่จะให้ผูเอ่านได้รับประโยชน์อย่างไร
16
3.7 ความคิดระหว่างการวิเคราะห์สาร
1.ความคิดแทรก เป็นความคิดที่เกิดระหว่างการวิเคราะห์สารซึ่งไม่ใช่ความคิดที่เกิดในเนื้อเรื่อง 2.ความคิดเสริม เมื่อวิเคราะห์สารแล้ว ความคิดเสริมจะเกิดขึ้น ซึ่งความคิดเสริมจะแตกต่างไปจากเนื้อเรื่องที่ปรากฏในสาร
17
3.8 คุณค่าที่ได้จากการรับสาร
ได้รับความรู้ ได้รับความบันเทิง ได้รับคติข้อคิดหรือคุณธรรม
18
3.9 หลักการพิจรณาคุณค่าของสาร
ผู้แต่ง ผู้พิมพ์ ปีที่พิมพ์ เนื้อหาสาระ วิธีนำเสนอ ส่วนประกอบอื่นๆ คุณภาพของการพิมพ์ ลักษณะรูปเล่ม
19
3.10 การประเมินค่าจากการรับสาร
ชื่อเรื่อง คำนำ เนื้อเรื่อง ข้อมูล การใช้ภาษา บทสรุป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.