งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา โปรแกรมประยุกต์สำหรับเว็บ (Web-based Application)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา โปรแกรมประยุกต์สำหรับเว็บ (Web-based Application)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา โปรแกรมประยุกต์สำหรับเว็บ (Web-based Application)
การพยากรณ์อากาศ วิชา โปรแกรมประยุกต์สำหรับเว็บ (Web-based Application)

2 ที่มาและปัญหาของระบบ
เราทำ web serviceนี้ขึ้นมาเพื่อที่จะให้บริการแก่ผู้ใช้งานให้ทราบสภาพอากาศของแต่ละภาคแต่ละจังหวัดในประเทศไทย และปัญหาของระบบเดิมมันดีอยู่แล้วแต่เราจะนำข้อมูลบางส่วนของระบบเดิมมาวิเคราะห์เพิ่มเติมเพื่อให้ผู้ใช้ได้เข้าใจสภาพอากาศง่ายขึ้นกว่าเดิม

3 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสภาพอากาศในแต่ละจังหวัดในประเทศไทยและศึกษาการดึง feed เพื่อนำมาใช้ในระบบของเรา และให้ผู้ใช้ได้สะดวกต่อการใช้งาน

4 ขอบเขตของระบบ ดึง feed จากระบบเดิมมาวิเคราะห์ให้ผ้ใช้ได้รับรู้ผลสรุปของสภาพอากาศทุกวันในแต่ละจังหวัด สรุปสภาพอากาศของแต่ละภาคในประเทศไทย นำข้อมูลอุณหภูมิ ปริมานน้ำฝนและลม ที่ได้จาก feed บางส่วนที่เราต้องการของระบบนำไปวิเคราะห์เพื่อแสดงสภาพอากาศของแต่ละจังหวัด รายงานสภาพอากาศโดยเฉลี่ยในแต่ละภาค

5 ระยะเวลาการดำเนินงานและหน้าที่ของสมาชิก
ระยะเวลาในการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ ถึงวันที่อาจารย์นัดส่งงาน นายเกรียงไกร แก้วหลอย (SA) นายสรไกร เกษมสุข (Programmer) นางสาวอินทิรา รักษาศีล (PM) นางสาวช่อผกา ดีพันธ์ (SA) นางสาวปาริชาติ พ่อค้า (DB) นางสาววรรณวิสา แดงกระสันต์ (DB)

6 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
1. การวิเคราะห์ข้อมูล rss feed จะนำข้อมูล feed ที่เราต้องการมาลงฐานข้อมูลและข้อมูลที่ได้จาก feed นี้มีอะไรบ้าง เช่น จะยกตัวอย่างมาหนึ่งจังหวัด ตัวอย่างที่ได้จาก feed

7 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
2. Model Driven & SOA Architecture - tool driven : ภาษาที่ใช้ในระบบ  PHP,HTML,SQL ระบบที่ใช้  seashore.buu.ac.th -data driven: URL feed  ข้อมูลที่ได้จาก feed อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ปริมานน้ำฝน ลม เป็นต้น -process driven: นำ feed ข้อมูลที่ต้องการออกมาแสดงบน web (ข้อมูลจะ update ทุกวัน) นำข้อมูลในfeed ที่เราต้องการมาวิเคราะห์เพื่อนำไปรายงานสภาพอากาศ

8 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
SOA Architecture

9 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
3. Use case diagram

10 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
4. process ที่สำคัญของระบบ 1. ดึง feed เพื่อที่จะดูข้อมูลสภาพอากาศของแต่ละวันในแต่ละจังหวัดแล้วนำมาวิเคราะห์ 2. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจาก feed โดยจะนำข้อมูลที่ต้องการเช่น อุณหภูมิ, ลม และ ปริมาณน้ำฝนว่ามีอุณหภูมิ ลม ปริมาณน้ำฝนเท่าไหร่ ว่าจะมีสภาพอากาศเป็นแบบนี้เช่น สภาพอากาศ

11 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
สภาพอากาศ 1. อากาศร้อน(Hot) อุณหภูมิตั้งแต่ 35.0 – 39.9 องศาเซลเซียส 2. อากาศร้อนจัด(Very Hot) อุณหภูมิตั้งแต่ 40.0 องศาเซลเซียสขึ้นไป 3. อากาศเย็น(Cool) อุณหภูมิตั้งแต่ 18.0 – 22.9 องศาเซลเซียส 4. อากาศค่อนข้างหนาว(Moderately Cold) อุณหภูมิตั้งแต่ 16.0 – 17.9 องศาเซลเซียส 5. อากาศหนาว(Cold) อุณหภูมิตั้งแต่ 8.0 – 15.9 องศาเซลเซียส 6. อากาศหนาวจัด(Very Cold) อุณหภูมิตั้งแต่ 7.9 องศาเซลเซียสลงไป

12 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
ฝน 1.ฝนเล็กน้อย(Light Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 0.1 มิลลิเมตร ถึง 10.0 มิลลิเมตร 2. ฝนปานกลาง(Moderate Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 10.1 มิลลิเมตร ถึง 35.0 มิลลิเมตร  3. ฝนหนัก(Heavy Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 35.1 มิลลิเมตร ถึง 90.0 มิลลิเมตร  4. ฝนหนักมาก(Very Heavy Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 90.1 มิลลิเมตร ขึ้นไป 

13 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
ลม ลมเงียบ  ควันลอยขึ้นตรง ๆ น้อยกว่า 1 ลมเบา  ควันลอยตามลม แต่ศรลมไม่หันไปตามทิศลม 1-5 กม./ชม. ลมอ่อน  รู้สึกลมพัดที่ใบหน้า ใบไม้แกว่ง ศรลมหันไปตามทิศลม 6-11 กม/ชม. ลมโชย  ใบไม้และกิ่งไม้เล็ก ๆ กระดิก ธงปลิว กม./ชม. ลมปานกลาง  มีฝุ่นตลบ กระดาษปลิว กิ่งไม้เล็กขยับเขยื้อน 20-29กม./ชม. ลมแรง  ต้นไม้เล็กแกว่งไกวไปมา มีระลอกน้ำ 29-38กม./ชม. ลมจัด  กิ่งไม้ใหญ่ขยับเขยื้อน ได้ยินเสียงหวีดหวิว ใช้ร่มลำบาก 39-49กม./ชม.

14 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
ลม (ต่อ) พายุเกลอ่อน  ต้นไม้ใหญ่ทั้งต้นแกว่งไกว เดินทวลมไม่สะดวก 50-61กม./ชม. พายุเกล  กิ่งไม้หัก ลมต้านการเดิน 62-74กม./ชม. พายุเกลแรง  อาคารที่ไม่มั่นคงหักพัง หลังคาปลิว 75-88กม./ชม. พายุ  ต้นไม้ถอนรากล้ม เกิดความเสียหายมาก (ไม่ปรากฏบ่อยนัก) กม./ชม. พายุไต้ฝุ่น หรือ เฮอร์ริเคน  เกิดความเสียหายทั่วไป (ไม่ค่อยปรากฏ) มากกว่า117 ขึ้นไป

15 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ(ต่อ)
5. Algorithm ที่นำมาประยุกต์ใช้ภายในระบบ - Bubble sort แสดงข้อมูลอุณหภูมิ 76 จังหวัดจากอุณหภูมิมากไปยังอุณหภูมิน้อย โดยเรียกเป็นภูมิภาค


ดาวน์โหลด ppt วิชา โปรแกรมประยุกต์สำหรับเว็บ (Web-based Application)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google