งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มช. ผู้ประสานงาน สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น

2

3 ประเด็นแลกเปลี่ยน งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เครื่องมือกำหนดทิศทางและการเขียนงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการพัฒนาชนบท ทำไม คณาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

4 ประเด็นแลกเปลี่ยน 2.1 กลไกสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ศูนย์ประสานงานวิจัยเชิงบูรณาการ สกว.-แม่โจ้ (คุณอังคนา ทาลัดชัย)

5 ประเด็นแลกเปลี่ยน ปริญญาโท
2.2 โครงการ สนับสนุนทุนวิจัยเพื่อ ท้องถิ่น สำหรับนักศึกษา ปริญญาโท (Community-Based Research Master Grant: CBMAG) (รศ. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ)

6 3. รางวัลของคณาจารย์ และ นักศึกษาที่ ประยุกต์ใช้ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ประเด็นแลกเปลี่ยน 3. รางวัลของคณาจารย์ และ นักศึกษาที่ ประยุกต์ใช้ งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

7 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (Community-Based Research: CBR)
ฐานคิด: เมื่อ ปัญหาเกิดขึ้นในชุมชนชนบท คำตอบในการแก้ปัญหา …. ก็ อยู่ที่ชุมชนชนบท

8 เพราะ ชุมชนชนบท มีทุน / ต้นทุน
ทุน ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ทุน คน ทุน ความรู้ ภูมิปัญญา ทุน กลุ่ม / องค์กร / เครือข่าย ทุน วัฒนธรรม ประเพณี ฮีตฮอย ทุน ที่เป็นตัวเงิน ฯลฯ

9 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นอย่างไร ?
เป็น Research Methodology CBR มีความเชื่อ เบื้องหลัง … ทุกคน มีศักยภาพ เรียนรู้ได้ CBR เน้น Process ที่สามารถ สร้าง K ใหม่ ทำให้คนเก่งขึ้น มั่นใจขึ้น เกิดกลไกการจัดการ

10 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR): เป็นอย่างไร ?
โจทย์วิจัย มาจากชุมชน คนในชุมชน อาสามาเป็น นักวิจัย ร่วมสร้างความรู้ มีปฏิบัติการ ของการสร้างความรู้ และ ใช้ความรู้

11 VCD “ คนตาย (ไม่) ขายคนเป็น”
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นงานวิจัยที่มีคุณภาพ และ มีประโยชน์ต่อ ทุกฝ่าย จริงหรือ ? VCD “ คนตาย (ไม่) ขายคนเป็น”

12 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้ สร้างจาก
เจ้าของปัญหาและผู้เกี่ยวข้อง อาสา/ สมัครใจจะทดลองทำวิจัย เพื่อแก้ปัญหา การฝึกเก็บข้อมูล โดย วิเคราะห์ได้ว่า จะเก็บประเด็นอะไร จากใคร เก็บอย่างไร การวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูลได้ การใช้ข้อมูล ประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา

13 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น เกิดทักษะ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา เกิดความรู้ใหม่ ปรับวิธีคิด กระบวนทัศน์

14 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา เกิด คน / กลุ่มคน ที่มี จิตอาสา เกิดปฏิบัติการ ของการใช้ความรู้ใหม่ เกิดความสำเร็จ เล็ก ๆ ระหว่างทาง

15 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: เป็นอย่างไร ?
R วิชาการ CBR  สร้าง K ใหม่  สร้าง K ใหม่  สร้างโดย  สร้างโดยคนใน นักวิชาการ ชุมชนเป็นหลัก  เน้นผลการวิจัย  เน้นกระบวนการ เรียนรู้  ใช้ฐาน “ทุน” ชุมชน

16 ทำไม ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ควรจะใช้ประโยชน์จากช่องทาง CBR ?
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ต้องบริหาร ให้มหาวิทยาลัย รับใช้ชุมชนท้องถิ่น เพราะ เราได้เงินเดือนจากภาษีของชาวบ้าน

17 ทำไม คณาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ควรจะใช้ประโยชน์จากช่องทาง CBR ?
ผอ. สำนักวิจัย และ ทีมงาน มีหน้าที่หลัก ในการบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อหนุนเสริม งานวิจัยของอาจารย์ และ นักศึกษา

18 ทำไม คณาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรจะลองประยุกต์ใช้ CBR ?
”คณาจารย์”

19 สอน วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ

20 สอน วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ
บทบาทของอาจารย์ เป็นนักจัดกระบวนการเรียนรู้ (Facilitator) วิจัย บริการชุมชน ทำนุบำรุงวัฒนธรรมศิลปะ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

21 กลไกสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ศูนย์ประสานงานวิจัยเชิงบูรณาการ สกว. - แม่โจ้ ผศ. ดร. ปรารถนา ยศสุข ผู้ประสานงาน คุณ อังคนา ทาลัดชัย ผู้ช่วยผู้ประสานงาน

22 ทำไมนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ควรจะลองประยุกต์ใช้ CBR ?
นักศึกษาปริญญาโท

23 กลไกสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ / การค้นคว้าอิสระ
กลไกสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ / การค้นคว้าอิสระ โครงการ สนับสนุนทุนวิจัยเพื่อท้องถิ่น สำหรับนักศึกษาปริญญาโท (Community-Based Research Master Grant: CBMAG) รศ. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ ผู้ประสานงาน นางสาวทัศนันท์ บุญสวน ผู้ช่วยผู้ประสานงาน นายนภดล ฟูแสง ผู้ช่วยผู้ประสานงาน

24 CBR เป็น โอกาส จริงหรือ ?
ถนน ทุกสาย มุ่งสู่ชุมชน / ท้องถิ่น ทั้ง นโยบาย หน่วยงาน แหล่งทุน วิจัย การสร้างบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎี บัณฑิต ที่รับใช้ท้องถิ่น ได้จริง

25 การเรียนรู้ของนักศึกษาที่ได้รับ ทุน CBMAG
คุณ เสาวดี ศรีฟ้า คุณ สุภาพร อินขะ คุณ รัฐพล ตันติอนุพงษ์

26 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
คน ในชุมชน

27 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: คนในชุมชน เก่งขึ้น มั่นใจมากขึ้น เกิดทักษะ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา เกิดความรู้ใหม่ ปรับวิธีคิด กระบวนทัศน์

28 งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา
งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น: สร้าง กลไกการจัดการกับปัญหา เกิด คน / กลุ่มคน ที่มี จิตอาสา เกิดปฏิบัติการ ของการใช้ความรู้ใหม่ เกิดความสำเร็จ เล็ก ๆ ระหว่างทาง

29 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
อาจารย์ สาย ก สาย ข

30 ตัวอย่าง: อาจารย์ อาวรณ์
ตัวอย่าง: อาจารย์ อาวรณ์ ได้ค้นพบตัวเอง ได้เติบโตภายใน เรียนรู้ธรรมะ ลด ความอหังการ ตอบแทนคุณ แผ่นดินเกิด สร้าง “คน” จำนวนมาก ทางโลก: ได้สร้างผลงาน ด้านวิชาการ เกิดเครือข่ายนานาชาติ

31 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ผู้บริหารสำนักวิจัย

32 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
“ผอ. สำนักวิจัย และ ทีมงาน” ได้เป็น ผู้สนับสนุน ผู้อำนวยความสะดวก เช่น รับทุน จากสกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อหนุนเสริมงานวิจัยของคณาจารย์/ นศ.

33 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
ผู้บริหาร มหาวิทยาลัย

34 รางวัล ที่ได้รับจาก การประยุกต์ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
”ผู้บริหารมหาวิทยาลัย” ได้เป็น ผู้สนับสนุน ผู้อำนวยความสะดวก เช่น ทำ MOU กับ สกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อหนุนเสริมศูนย์ประสานงาน

35 เงื่อนไขสำคัญ ลอง ... เปิดใจ ทดลองทำ

36 ขอบพระคุณมาก ค่ะ ที่ให้โอกาส


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google