ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร วันที่ 23 พฤษภาคม 2551 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
2
โครงสร้างตำแหน่งสายสนับสนุน มีดังนี้
ตำแหน่งปฏิบัติการ - ระดับต้น (ปวช./ปวส.) - ระดับกลาง (ป.ตรีขึ้นไป) ตำแหน่งผู้บริหาร - ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดีหรือวิทยาเขต - ผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะ/สถาบัน/สำนัก ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
3
การกำหนดระดับตำแหน่งปฏิบัติการ กำหนดไว้ดังนี้
ตำแหน่งปฏิบัติการระดับต้น - วุฒิ ปวช. หรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 1-3, 4, 5 - วุฒิ ปวส. หรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 2-4, 5, 6 ตำแหน่งปฏิบัติการระดับกลาง - วุฒิปริญญาตรี กำหนดเป็นระดับ 3-6 - วุฒิปริญญาโท กำหนดเป็นระดับ 4-7 (นักวิจัย นายแพทย์ ทันตแพทย์ สัตวแพทย์)
4
การกำหนดระดับตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดไว้ดังนี้
ตำแหน่งชำนาญการ มี 2 ระดับ - กำหนดเป็นระดับ 6 - กำหนดเป็นระดับ 7-8 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ - กำหนดเป็นระดับ 9 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ - กำหนดเป็นระดับ 10
5
การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร
ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานในกอง/สำนักงานเลขานุการคณะ - กำหนดเป็นระดับ 7 ตำแหน่งกลุ่มงานตามภารกิจหลักในสถาบัน/สำนัก/ศูนย์ หรือเทียบเท่า - กำหนดเป็นระดับ 7, 8
6
การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร (ต่อ)
ตำแหน่งผู้อำนวยการกอง/เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า - ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า กำหนดเป็นระดับ 7-8 - เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า กำหนดดังนี้ - งานในเชิงประสาน กำหนดเป็น ระดับ 7 - งานที่ต้องดำเนินการมีความหลากหลาย ยุ่งยาก กำหนดเป็นระดับ 8
7
การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหาร (ต่อ)
ตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานวิทยาเขต - หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี - ลักษณะงานหลากหลาย มีความยุ่งยาก ซับซ้อน กำหนดเป็น ระดับ 8 การบริหารจัดการมาก กำหนดเป็นระดับ 9 - หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต - บริหารงานไม่เบ็ดเสร็จ กำหนดเป็นระดับ 8 - บริหารงานเบ็ดเสร็จ กำหนดเป็นระดับ 9
8
เกณฑ์การพิจารณาตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
เกณฑ์การพิจารณาตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ พิจารณาความจำเป็นของหน่วยงาน พิจารณาประเมินผลงาน
9
การพิจารณาประเมินตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ มี 2 วิธี
การพิจารณาประเมินตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ มี 2 วิธี วิธีปกติ - คุณสมบัติครบ วิธีพิเศษ - ขาดคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลา - ข้ามตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งระดับปฏิบัติการ ประเมินตำแหน่งเชี่ยวชาญ
10
การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
1. วิเคราะห์ความจำเป็นของหน่วยงาน แนวทางดังนี้ - คณะ สถาบัน สำนักหรือเทียบเท่า กำหนด ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญพิเศษได้ - สำนักงานอธิการบดี กำหนดตำแหน่งได้ไม่เกิน ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ - กอง/สำนักงานเลขานุการกำหนดตำแหน่ง ได้ไม่เกินตำแหน่งระดับชำนาญการ
11
การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
2. วิเคราะห์งานของตำแหน่ง แนวทางดังนี้ 2.1 ตำแหน่งระดับชำนาญการ - ลักษณะงานที่ปฏิบัติต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญงาน - ต้องใช้และหรือประยุกต์หลักการเหตุผล แนวความคิด วิธีการ เพื่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่ กำหนดไว้
12
การพิจารณาความจำเป็นกำหนดตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
2.2 ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ หรือเชี่ยวชาญพิเศษ - ลักษณะงานจำเป็นต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ ทฤษฎี หลักวิชาหรือหลักการเกี่ยวกับงาน เฉพาะทาง - เป็นงานเชิงพัฒนาระบบหรือมาตรฐาน
13
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
ตำแหน่งระดับชำนาญการ ระดับ 6, 7-8 คุณสมบัติระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง - ปวช. 16 ปี - ปวส. 12 ปี - ป.ตรี 9 ปี - ป.โท 5 ปี - ป.เอก 2 ปี - ผู้ใช้วุฒิหลายระดับ นับระยะเวลารวมกันตามอัตราส่วนได้ แต่ต้องเป็นตำแหน่งที่ได้มีการกำหนดความจำเป็นไว้แล้ว
14
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
เกณฑ์การประเมินมี 3 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ
15
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 คุณสมบัติ - ป.ตรี - ดำรงตำแหน่งชำนาญการหรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปี
16
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
เกณฑ์การประเมินมี 4 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ - การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการวิชาการหรืองานวิชาชีพบริการต่อสังคม
17
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 คุณสมบัติ - ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษหรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปี
18
การพิจารณาประเมินตำแหน่ง ระดับชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ
เกณฑ์การประเมินมี 5 องค์ประกอบ - ปริมาณงานในหน้าที่ - คุณภาพของงานในหน้าที่ - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ - การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุน งานบริการวิชาการหรืองานวิชาชีพบริการต่อสังคม - ความเป็นที่ยอมรับนับถือในงานด้านนั้น ๆ หรือ ในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้น ๆ
19
วิธีการประเมินและเกณฑ์การตัดสิน
- วิธีปกติ ตั้งกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน - วิธีพิเศษ ตั้งกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน เกณฑ์การตัดสิน - วิธีปกติ ใช้เสียงข้างมาก - วิธีพิเศษ ใช้เสียง 4 ใน 5
20
เงินประจำตำแหน่ง ตำแหน่ง อัตราเงินประจำ ตำแหน่ง/เดิม อัตราเงิน
เพิ่มพิเศษ/เดือน หมายเหตุ เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 (วช.ชช.) เชี่ยวชาญ ระดับ 9 (วช.ชช.) ชำนาญการ ระดับ 8 (วิชาชีพเฉพาะ วช.) ชำนาญการ ระดับ 7 13,000 9,900 5,600 3,500 - ไม่ใช่วิชาชีพเฉพาะรับเงินเพิ่มพิเศษ 5,600 บาท
21
จบคำบรรยาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.