ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKusuman Sudham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH
ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
2
คำถามการวิจัย 2 ระดับ ขนาดของปัญหา ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร
มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่? ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับ ท้องถิ่นที่อาศัยอยู่?
3
คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัด
ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) ความชุก Prevalence อุบัติการ Incidence ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) Relative Risk ====> Cohort Study Odds Ratio ====> Case-Control Study Prevalence Rate Ratio ====> Cross-Sectional Study
4
การวัดการเกิดโรค อุบัติการ Incidence ความชุก Prevalence
5
การวัดการเกิดโรค
6
การดำเนินโรค ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร ผลการักษา หาย คุมอาการได้
พิการ ตาย แข็งแรงดี Symptoms Diagnosis Disease Onset Seek Care Treatment ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร
7
Clinical & Sub-clinical
โรคแสดงอาการ Symptomatic โรคไม่แสดงอาการ Asymptomatic
8
การดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรค
ปฐมภูมิ Primary Prevention สร้างเสริมสุขภาพ การให้วัคซีน ทุติยภูมิ Secondary Prevention ตติยภูมิ Tertiary Prevention Stage of Susceptibility Stage of Subclinical Stage of Clinical Stage of Recovery Disability or death ยังไม่เกิดโรค เกิดโรคแล้ว
9
การป้องกันโรค ระดับปฐมภูมิ Primary Prevention ควบคุมปัจจัยเสี่ยง
การรณรงค์เลิกสูบบุหรี่, การให้วัคซีนในเด็ก ระดับทุติยภูมิ Secondary Prevention ลดความเสียหายจากการเกิดโรคโดยการให้การรักษาตั้งแต่ระยะที่โรคเริ่มต้น early diagnosis and treatment การตรวจนะเร็งปากมดลูกในสตรี
10
การป้องกันโรค ระดับตติยภูมิ Tertiary Prevention
ลดภาวะแทรกซ้อนของการเกิดโรค การให้การฟื้นฟูสภาพหลังการเกิดอัมพาต
11
การให้คำจำกัดความของโรค Disease Definitions
ระบุให้ชัดเจน ว่า อะไรจะนับว่าเกิดโรคที่สนใจ คำจำกัดความของโรค ค่าทางห้องปฏิบัติการ อาการ; Major and Minor criteria การวินิจฉัยของแพทย์ในประวัติทางการแพทย์ ICD10
12
การวัดความถี่ของการเกิดโรค
อัตราส่วน Ratio ความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวน 2 จำนวน ตัวตั้งไม่ได้รวมอยู่ในตัวหาร ตัวอย่าง: อัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยชาย หญิง = 1:1
13
การวัดความถี่ของการเกิดโรค
สัดส่วน Proportion อัตราส่วนที่ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร มักแสดงเป็นร้อยละ สัดส่วนของการบาดเจ็บการจราจรที่เกิดจากมอเตอร์ไซค์เท่ากับร้อยละ 81 ของการบาดเจ็บจากการจราจรทั้งหมด
14
ประเภทยานพาหนะของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ พ.ศ.2545 รถจักรยานยนต์ (48,723 คน 81 %) แหล่งข้อมูล : 21 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ
15
การวัดความถี่ของการเกิดโรค
อัตรา Rate (มี 2 นัย) ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร อัตราการบาดเจ็บจากการจราจรในพื้นที่เขต 3 เท่ากับ 81 ต่อแสนประชากร เป็นเรื่องที่มีมิติของเวลามาเกี่ยวข้อง อัตราอุบัติการณ์ของการติดเชื้อ HIV ในประชากรไทยช่วง เท่ากับ 0.3 ต่อ 100 person-years
16
อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต
จำนวนบาดเจ็บ ประชากร อัตราต่อแสน เขต 3 3,138 3,866,851 81.15 เขต2 2,024 2,975,279 68.03 เขต 11 2,614 3,878,053 67.40 เขต 6 4,384 7,273,836 60.27 เขต 10 2,834 4,755,177 59.60 เขต 7 3,772 6,436,366 58.60
17
อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต
จำนวนบาดเจ็บ ประชากร อัตราต่อแสน เขต 5 4,232 7,428,912 56.97 เขต 4 2,171 3,903,547 55.62 เขต 9 2,123 3,842,962 55.24 เขต 8 1,792 3,257,458 55.01 เขต 1 1,558 3,503,418 44.47 เขต 12 1,809 4,296,086 42.11
18
Ratio A fraction with no specified relationship between numerator and denominator Range: 0 to A/B Examples Sex ratio (M:F) Fetal death ratio
19
Proportion Numerator included in denominator
May be expressed as percentage Range: 0 to 1 A/(A+B) Example Prevalence (always a proportion)
20
Rate A special type of proportion Unit of time in denominator
A/(A+B) per time interval Common to use the population as the denominator New case per person time
21
การวัดการเกิดโรค รู้จัก การวัดพื้นฐาน ของการเกิดโรค ;
อุบัติการ และความชุก Incidence & Prevalence
22
Indices of Morbidity Incidence = New cases
Prevalence = New and Pre-existing cases
23
Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995
24
Point Prevalence at July 1995 = ?
Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995 Incidence in = ? Point Prevalence at July = ? 2 4
25
Baseline Prevalence
26
Incidence Increased Prevalence Baseline Prevalence
27
Baseline Prevalence Decreased Prevalence Deaths Cures
28
Incidence Prevalence Deaths Cures
29
อัตรา เครื่องมือที่ใช้ในระบาดวิทยาที่สำคัญคือการเปรียบเทียบอัตรา
อัตรา (Rate) = ตัวตั้ง ตัวหาร อัตราตาย (Mortality Rate) ความชุก (Prevalence) อุบัติการ (Incidence)
30
การวัด อุบัติการของการเกิดโรค
มี 2 แนวทางในการวัด 1) อุบัติการสะสม Cumulative incidence = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด ประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลานั้น = = 1.25 /1,000 32,000 X 10(n)
31
การวัด อุบัติการของการเกิดโรค
2) อัตราอุบัติการ (Incidence density or Incidence rate ) การเพิ่ม “มิติของเวลา” ลงไปในตัวหาร “Person-time” Person-month, Person-year 1 Person-year = Following 1 person for 1 year period 10 Person-year = Following 1 person for 10 year period = Following 10 persons for 1 year period
32
การวัด อุบัติการของการเกิดโรค
2) อัตราอุบัติการ Incidence density or Incidence rate = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด จำนวน Person-years of ของการติดตามในช่วงไม่เกิดโรค หากติดตามคน 100 คนในเวลา 1 ปีและพบว่า 20 คนเกิดโรค อัตราอุบัติการคือ 20 cases/100 person-years การติดตาม = / 100 person-years 100 person-years X 10(n)
33
ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการ
การเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never , Ex-smoker , Smoker , Total ,
34
Database of 118,539 subjects ID Age Smoking Stroke Enter Last Contact
Person-Year 1 18 No 1990 1998 8 2 36 1992 3 50 Yes 1991 7 . 118,539 24 1993 5 Total 908,477
35
ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี
Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never , Ex-smoker , Smoker , Total , Cumulative incidence = / 118,539 = / 1,000
36
ความหมาย ความชุก Prevalence : ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะเป็นผู้ป่วยในช่วงเวลาที่สนใจ อุบัติการ Incidence : ความน่าจะเป็น หรือความเสี่ยงที่บุคคลที่แข็งแรงดีจะเกิดการป่วยขึ้นมาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
37
Meaning Prevalence of HIV infection in Thai people
= 1.5% ~ 1 million people Prevalence: Planing for health services Incidence of HIV in Thailand = 0.2 % per year in 1999 Incidence: Risk of an individual developing a disease during period of time
38
Did those who use condom regularly have lower risk for getting HIV infection than those who did not use regularly ? Risk Factor of interest = Reported condom use during the last 12 months Outcome (Disease Occurrence) - Prevalence of AIDS case during the last 12 months - Prevalence of HIV infection during the last 12 months - Incidence of AIDS case during the last 12 months - Incidence of HIV infection during the last 12 months
39
Standardized Mortality Ratio
Indirect Age Adjustment (Standardized Mortality Ratio) Observed # of Deaths per Year SMR = X Expected # of Deaths per Year
40
Standardized Mortality Ratio
The SMR permits one to determine whether a death rate for one group is greater than another. If the SMR for teachers is 105 and the SMR for nurses is 120, we can conclude that 1. NURSES have a higher mortality than teachers, and 2. Both teachers and nurses have a higher mortality than the general population (since both are greater than 100)
42
Standardized Mortality Ratio
Standardized Mortality Ratio (SMR) = (Observed Deaths / Expected Deaths)X100 SMR = (481 / )X100 = 112
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.