ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นโยบายด้านบริหาร
2
1.พัฒนากรมสุขภาพจิตให้เป็น องค์กรต้นแบบด้านการบริหารจัดการองค์กรที่ดี ด้วยแบบอย่างของ ค่านิยม วัฒนธรรม ผู้นำองค์กร ระบบจูงใจ มีส่วนร่วม คำนึงถึง ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โปร่งใส ตรวจสอบได้ KM บริหารความเสี่ยง ISO เพื่อมุ่งสู่การได้รับ รางวัล TQC 2.เผยแพร่ พรบ.สุขภาพจิต แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนเพื่อรักษา สิทธิประโยชน์ของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 2
3
3.พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูง เสริมสร้างขวัญกำลังใจให้ บุคลากรทุกคนทำงานอย่างมีความสุข สนับสนุนให้ คนดี คนเก่งอยู่ในระบบ 4.พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ทั้งใน ระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ 5.ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต โดยใช้กลไกการบริหารระดับนโยบาย จากส่วนกลางสู่หน่วยงานและพื้นที่แบบบูรณาการงาน รวมทั้งเร่งรัดการบริหารและการเบิกจ่ายงบประมาณ โครงการไทยเข้มแข็ง ( SP2 ) 3
4
วิสัยทัศน์กรมสุขภาพจิต
จะเป็นองค์กรมาตรฐานการพัฒนาสุขภาพจิต ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ ตลอดจน เทคโนโลยีสุขภาพจิตของประเทศ เป็นศูนย์กลาง ประสานงานความร่วมมือทางวิชาการสุขภาพจิตในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เป็นองค์กรที่มีการบริหารที่ดีเยี่ยม มีขนาดกะทัดรัด คล่องตัว มีบุคลากรที่มีคุณภาพ เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย 4
5
ด้วยกระบวนการศึกษา วิจัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
พัฒนา ผลิต และถ่ายทอด องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชแก่เครือข่ายและประชาชน บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และทันต่อสถานการณ์แก่ผู้ป่วย ที่มีปัญหารุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ด้วยกระบวนการศึกษา วิจัย ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 5
6
อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง มีความสุขที่ยั่งยืน
ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรู้ ความเข้าใจ ในความสำคัญของสุขภาพจิต มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต สามารถดูแลและจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ทั้งของตนเอง ครอบครัว และผู้อื่นในชุมชนได้ อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง มีความสุขที่ยั่งยืน 6
7
ร้อยละ 70 ของประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี
ร้อยละ 70 ของประชาชนมีความสามารถ ในการจัดการกับความเครียดได้อย่างเหมาะสม อัตราการฆ่าตัวตายลดลง เหลือไม่เกิน 6.5 ต่อ ประชากรแสนคน 7
8
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4
เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหา สุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบ สาธารณสุขในการดำเนินงานสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาความเชี่ยวชาญสู่การเป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความเป็นเลิศเฉพาะทาง ด้านบริการจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพของ การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร ยุทธศาสตร์ที่ 5 8
9
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 3
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์-ยุทธศาสตร์ ตามแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงครึ่งหลังของแผนฯ 10 (พ.ศ ) เพื่อความสุขที่ยั่งยืน ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพจิต เข้าถึงบริการสุขภาพจิต และให้โอกาสผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต 1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพจิตและผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในการดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ในการดำเนินงานสุขภาพจิต เป้าประสงค์ 2. เครือข่ายมีการบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับงานของตนเอง และสามารถให้การดูแลสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความเชี่ยวชาญ สู่การเป็นศูนย์กลาง ทางวิชาการด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน และความเป็นเลิศเฉพาะทาง ด้านบริการจิตเวช เป้าประสงค์ 3. กรมสุขภาพจิตเป็นศูนย์กลางการพัฒนาวิชาการด้านสุขภาพจิต ทั้งในระดับประเทศและ ในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 4. หน่วยบริการจิตเวชมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ ในระดับประเทศ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาความสามารถในการเพิ่มประสิทธิภาพ ขององค์กรและสมรรถนะบุคลากร 5. การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากร มีประสิทธิภาพ 9
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.