ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhatra Kasemsarn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สนับสนุนโดย สำนักงานประกันสังคม
2
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน
วัตถุประสงค์ 1. ระบุขั้นตอนการสูญเสียการได้ยินได้ 2. ระบุช่วงความถี่ของการสนทนาได้ 3. ระบุปัญหาคุณภาพชีวิตหลังการสูญเสียการได้ยิน ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 2
3
การทดสอบความรู้ก่อนเรียน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 3
4
ขั้นตอนการสูญเสียการได้ยิน
1. มีเสียงดังก้องในหู 2. การสูญเสียมีมากขึ้น แต่ไม่รู้ตัว 3. สังเกตได้ว่ามีปัญหาการได้ยิน 4. มีปัญหาเรื่องการสื่อสาร (พูดคุย) ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 4
5
ภาพแสดงขั้นตอนการสูญเสียการได้ยิน
-10 10 20 ขั้นที่ 2 30 เดซิเบล เอ) 40 ขั้นที่ 3 ( 50 60 ขั้นที่ 4 70 ระดับการได้ยิน 80 90 100 110 120 125 250 500 1000 2000 4000 8000 11000 ความถี่ ( เฮิรตซ์ ) ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 5
6
ภาพแสดงลักษณะการสูญเสียการได้ยิน
-20 -10 ) ปี เดซิเบล เอ 10 5 ปี ( 20 12 ปี 30 20 ปี ระดับการได้ยิน 40 50 60 70 125 250 500 1000 2000 4000 8000 ความถี่ ( เฮิรตซ์ ) ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 6
7
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน
ความถี่ของการสนทนา ช่วงความถี่ของการสนทนา คือ 500 – 2,000 เฮิรตซ์ ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 7
8
ช่วงการได้ยินเสียงของมนุษย์ที่ความถี่ต่างๆ
20 20000 ช่วงอินฟราโซนิก ช่วงออดิโอโซนิก ช่วงอัลตราโซนิก ขอบขีดความเจ็บปวด พื้นที่ของเสียง ย่านคำพูด ระดับเสียง (เดซิเบล) พื้นที่ของเสียง ขอบขีดการได้ยิน 500 1,000 2,000 ความถี่ (เฮิรตซ์) ช่วงความถี่ ของการสนทนา ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 8
9
ประเภทของการสูญเสียการได้ยิน
1. การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว 2. การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 9
10
การสูญเสียการได้ยินชั่วแบบคราว
- เกิดขึ้นภายใน 2 -3 ชั่วโมงแรกของการสัมผัสเสียง - การได้ยินกลับคืนสู่สภาพเดิมภายใน 2 – 4 ชั่วโมง หลังหยุดการสัมผัสเสียง ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 10
11
ภาพ Audiogram ที่แสดงการสูญเสียการได้ยินแบบถาวร
ความถี่ (เฮิรตซ์) ก่อนทำงาน ทำงานนาน 25 ปี ระดับการได้ยิน (เดซิเบล) ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 11
12
ดีวีดี ขั้นตอนการสูญเสียการได้ยิน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 12
13
การทดสอบความรู้หลังเรียน
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านเสียงดังและความร้อน 13
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.