ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSolada Praves ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว
2
ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง
หมวดที่ ๒ ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง ๑ . สติ คือ ความระลึกได้ ๒ . สัมปชัญญะ คือ ความรู้ตัว
4
๒ . โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัว ต่อบาป
ธรรมเป็นโลกบาล คือ คุ้มครองโลก ๒ อย่าง ๑ . หิริ คือ ความละอายแก่ใจ ๒ . โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัว ต่อบาป
6
๒ . โสรัจจะ คือ ความเสงี่ยม
ธรรมอันทำให้งาม ๒ อย่าง ๑ . ขันติ คือ ความอดทน ๒ . โสรัจจะ คือ ความเสงี่ยม
8
๒ . กตัญญูกตเวที คือ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ ท่านทำแล้วตอบแทน
บุคคลหาได้ยากในโลก ๒ อย่าง ๑ . บุพพการี คือ บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน ๒ . กตัญญูกตเวที คือ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ ท่านทำแล้วตอบแทน
10
หมวดที่ ๓ รัตนะ ๓ ๑ . พระพุทธ ๒ . พระธรรม ๓ . พระสงฆ์
12
คุณของรัตนะ ๓ ๑ . คุณของพระพุทธเจ้า คือ ทรงรู้ดี รู้ชอบ ด้วยพระองค์เองก่อน แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม ๒ . คุณของพระธรรม คือ ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตก ไปสู่ที่ชั่ว ๓ . คุณของพระสงฆ์ คือ ผู้ปฏิบัติตามคำสอนของพระ พระพุทธเจ้าแล้วสอนให้ผู้อื่นกระทำตาม
14
โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ๑ . สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง เว้นจากการทุจริต คือ เว้นจากการประพฤติชั่ว ด้วยกาย วาจา ใจ ๒ . กุสะลัสสูปะสัมปะทา ประกอบสุจริต คือ ประพฤติ ชอบด้วยกาย วาจา ใจ ๓ . สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การทำใจให้บริสุทธิ์ คือ การทำใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง ใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น
16
๑ . กายทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางกาย
ทุจริต ๓ ๑ . กายทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางกาย ๒ . วจีทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางวาจา ๓ . มโนทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางใจ
18
๒ . วจีสุจริต คือ การประพฤติชอบทางวาจา
สุจริต ๓ ๑ . กายสุจริต คือ การประพฤติชอบทางกาย ๒ . วจีสุจริต คือ การประพฤติชอบทางวาจา ๓ . มโนสุจริต คือ การประพฤติชอบทางใจ
20
อกุศลมูล ๓ ๑ . โลภะ คือ ความอยากได้ ๒ . โทสะ คือ ประทุษร้ายเขา
๓ . โมหะ คือ หลงไม่รู้จริง
22
กุศลมูล ๓ ๑ . อโลภะ คือ ไม่อยากได้ ๒ . อโทสะ คือ ไม่คิดประทุษร้ายเขา
๓ . อโมหะ คือ ไม่หลงงมงาย
24
สัปปุริสบัญญัติ ๓ ๑ . ทาน คือ การสละสิ่งของของตนเพื่อประ
โยชน์แก่ผู้อื่น ๒ . ปัพพัชชา คือ การบวช เป็นอุบาย เว้น จากการเบียดเบียนกันและกัน ๓ . มาตาปิตุอุปัฏฐาน การปฏิบัติมารดาบิดา ให้เป็นสุข
26
บุญกิริยาวัตถุ ๓ ๑ . ทานมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการบริจาค ทาน
๑ . ทานมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการบริจาค ทาน ๒ . สีลมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล ๓ . ภาวนามัย คือ บุญสำเร็จด้วยการเจริญ ภาวนา
28
หมวดที่ ๔ อคติ ๔ ๑ . ฉันทาคติ คือ ลำเอียงเพราะรักใคร่
๒ . โทสาคติ คือ ลำเอียงเพราะไม่ชอบ ๓ . โมหาคติ คือ ลำเอียงเพราะเขลา ๔ . ภยาคติ คือ ลำเอียงเพราะกลัว
30
อธิษฐานธรรม ๔ ๑ . ปัญญา คือ รอบรู้สิ่งที่ควรรู้ ๒ . สัจจะ คือ ความจริง
๓ . จาคะ คือ การเสียสละ ๔ . อุปสมะ คือ ความสงบ
32
อิทธิบาท ๔ ๑ . ฉันทะ คือ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
๒ . วิริยะ คือ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓ . จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วาง ธุระ ๔ . วิมังสา คือ หมั่นตริตรองพิจารณา เหตุผลในสิ่งนั้น
34
พรหมวิหาร ๔ ๑ . เมตตา คือ ความรัก ๒ . กรุณา คือ ความสงสาร
๓ . มุทิตา คือ พลอยยินดี ๔ . อุเบกขา คือ วางเฉย
36
อริยสัจ ๔ ๑ . ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
๒ . สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ๓ . นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ๔ . มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
38
มิตรปฏิรูป ๔ ( มิตรเทียม )
๑ . คนปอกลอก ๒ . คนดีแต่พูด ๓ . คนหัวประจบ ๔ . คนที่ชักชวนไปในทางที่พินาศ
40
มิตรปฏิรูป ๔ มีลักษณะดังนี้ ๔ . คบเพื่อนเพราะหวังประโยชน์ของตัว
คนปอกลอก ๑ . คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว ๒ . เสียให้น้อย คิดเอาให้ได้มาก ๓ . เมื่อมีภัยถึงตัว จึงรับทำกิจ ๔ . คบเพื่อนเพราะหวังประโยชน์ของตัว
42
คนดีแต่พูด ๑ . นำสิ่งที่ล่วงไปแล้วมาพูด ๒ . อ้างเอาของที่ยังไม่มีมาพูด
๓ . สงเคราะห์ด้วยของที่หาประโยชน์ มิได้
44
คนหัวประจบ ๑ . จะทำชั่วก็คล้อยตาม ๒ . จะทำดีก็คล้อยตาม
๓ . ต่อหน้าสรรเสริญ ๔ . ลับหลังนินทา
46
คนชักชวนไปในทางพินาศ
๑ . ชักชวนดื่มน้ำเมา ๒ . ชักชวนเที่ยงกลางคืน ๓ . ชักชวนเล่นการพนัน ๔ . ชักชวนในการละเล่นต่างๆ
48
มิตรแท้ ๔ ๑ . มิตรมีอุปการะ ๒ . มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๓ . มิตรแนะนำประโยชน์ ๔ . มิตรมีความรักใคร่
50
มิตรแท้มีลักษณะดังนี้
มิตรมีอุปการะ ๑ . ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว คอยเตือนสติ ๒ . ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผู้ประมาท ๓ . เมื่อมีภัยเป็นที่พึ่งพำนักได้ ๔ . เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ให้เกินกว่าที่ออก ปาก
52
มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๑ . ขยายความลับของตนแก่เพื่อน ๒ . ปิดความลับของเพื่อนไว้เสมือน ความลับของตน ๓ . ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ ๔ . แม้ชีวิตก็สละให้เพื่อนได้
54
มิตรแนะประโยชน์ ๑ . แนะนำไม่ให้ทำชั่ว ๒ . แนะนำให้ตั้งอยู่ในความดี
๓ . ให้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๔ . บอกทางสวรรค์ให้
56
มิตรมีความรักใคร่ ๑ . ทุกข์ ก็ทุกข์ด้วย ๒ . สุข ก็สุขด้วย
๓ . โต้เถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน ๔ . รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน
58
ฆราวาสธรรม ๔ ๑ . สัจจะ คือ ความจริงใจ ๒ . ทมะ คือ การข่มใจ
๓ . ขันติ คือ ความอดทน ๔ . จาคะ คือ การบริจาค
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.