งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม

2 จังหวัดมหาสารคาม ประชากร 945,149 คน 13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944 หมู่บ้าน
13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944 หมู่บ้าน พื้นที่ทั้งหมด 5, ตารางกิโลเมตร

3 วิสัยทัศน์ จังหวัดมหาสารคามเป็นฐานการผลิตและแปรรูป ผลผลิตด้านการเกษตร เพื่อสร้างความมั่นคง ให้แก่อุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทน ของประเทศ ประชาชนอยู่ดีมีสุขในสังคม คุณภาพ ปี 3

4 Positioning ปี 2557 ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง โคเนื้อ
ผลิตภัณฑ์เสื่อกก ผ้าไหมสร้อย ดอกหมาก ท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การบริการ การศึกษา 4

5 ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ปี 2557 1. ปรับโครงสร้างการผลิตให้เอื้อต่อการผลิตและการแปรรูป เกษตรอาหารและเกษตรพลังงานทดแทน 2. ส่งเสริมอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล 3. ยกระดับมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน 4. สร้างสังคมเอื้ออาทรและสมานฉันท์

6 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปรับโครงสร้างการผลิตให้เอื้อต่อการ ผลิตและการแปรรูปเกษตรอาหารและเกษตรพลังงาน ทดแทน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มปริมาณผลผลิตทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับจังหวัด ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตเกษตร อาหาร และเกษตรพลังงานทดแทน เพิ่มมาตรฐานการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพและปลอดภัย ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ปลอดภัย และได้มาตรฐาน สร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเกษตรกรกลุ่มสหกรณ์ และกลุ่มอาชีพ เสริมสร้างความเข้มแข็งและ ศักยภาพให้แก่กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มอาชีพ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร น้ำและดินเพื่อการเกษตร พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำและดินเพื่อการเกษตร ให้มีประสิทธิภาพ 6

7 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มปริมาณและปัจจัยที่เอื้อต่อการลงทุน พัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการท่องเที่ยวในจังหวัด ผลิตภัณฑ์ชุมชนเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเกษตรได้รับรองมาตรฐานเพิ่มช่องทางการตลาด ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป และการตลาด เพิ่มรายได้จากการบริการด้านการท่องเที่ยว ฟื้นฟูและพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อมอยู่ในสภาวะสมดุล ป้องกันและแก้ไขมลภาวะจากอุตสาหกรรม และเกษตรอย่างเป็น ระบบ สร้างความสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ

8 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับมาตรฐานการครองชีพและ คุณภาพชีวิตของประชาชน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มทักษะแรงงานให้ได้มาตรฐาน สร้างรายได้จากอาชีพเสริมและลด รายจ่ายเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ครองชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เพื่อความ มั่นคงทางอาชีพ 8

9 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างสังคมเอื้ออาทรและสมานฉันทร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มคนดี ครอบครัวเข้มแข็ง ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกฝังค่านิยมด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมที่ดีงาม และสำนึกสาธารณะ ให้แก่ประชาชน เพิ่มความสมานฉันท์ ให้เกิดขึ้นใน สังคม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ดีงาม ของสังคมและสร้างความสมานฉันท์ให้ เกิดความมั่นคงในพื้นที่ เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน จัดระเบียบชุมชนให้มีความสงบเรียบร้อย เพื่อให้เกิดความมั่นคงในสังคม 9

10 Value Chain แผนงานส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรได้มาตรฐาน (ข้าวหอมมะลิ)
ต้นน้ำ : การผลิต กลางน้ำ : การแปรรูปและเพิ่มมูลค่า ปลายน้ำ : การตลาด พัฒนากระบวนการผลิต พัฒนาการตลาด พัฒนาผลิตภาพการผลิต เชื่อมโยงเครือข่าย ตลาดสินค้า ข้าวคุณภาพของ จังหวัดมหาสารคาม กิจกรรมหลัก การจัด พื้นที่เกษตร (zoning) และ การรวมกลุ่ม เกษตรกร ส่งเสริมการผลิต ข้าวหอมมะลิปลอดภัย และได้มาตรฐาน GAP พัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดการความรู้ การแปรูปผลิตภัณฑ์ กิจกรรมย่อย การจัดระบบชลประทานในพื้นที่ สร้างตราสินค้าและ บรรจุภัณฑ์ข้าวชุมชน อบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต แก่เกษตรกร เพิ่มช่องทางการตลาด การติดตามและประเมินผล สนับสนุนปัจจัยการผลิต

11


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google