ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
Sub NICU โดย วรรณา สุธรรมา
2
การให้นมมารดา และการสร้างสายสัมพันธ์
นโยบายส่งเสริมนมแม่ของกระทรวง โรงพยาบาลส่งเสริมนมแม่
3
บริบทของหน่วยงาน หอผู้ป่วยบริบาลทารกที่เจ็บป่วยต้องดูแลใกล้ชิด
มีทารกที่มีปัญหาน้ำหนักตัวน้อย หายใจเร็ว การดูดกลืนไม่ดี มีทารกที่ถูกแยกจากมารดานาน พัฒนาการช้า
4
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการมาให้นม
ภาวะทางร่างกายของมารดา(เจ็บแผล อ่อนเพลีย ซีด เวียนศีรษะ) ภาวะทางจิตใจของมารดา(เศร้า โดดเดี่ยว ไร้คุณค่า) ความเชื่อ ค่านิยม ของครอบครัว มารดาบ้านไกล มาเยี่ยมไม่บ่อย ไม่มีห้องให้มารดาเฝ้าตลอด ปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัว
5
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการมารับบุตรกลับบ้าน
ตามแล้วไม่มารับ ตามมาฝึกเลี้ยงบุตรแล้วมาไม่ได้ ไม่มา มารับบุตรกลับแล้วไม่สามารถดูแลได้ดี เด็กกลับมา admit ด้วยภาวะแทรกซ้อน
6
ผลกระทบที่ทารกได้รับ
ทารกไม่ได้รับนมมารดา ทารกไม่ได้รับสารอาหารบางตัวที่มีอยู่ในนมมารดาเท่านั้น ไม่เกิดสายสัมพันธ์ มารดาทารก พัฒนาการไม่ค่อยดี(น้ำหนักขึ้นช้า ร้องไห้มาก หลับน้อย) มีผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์เมื่อโตขึ้น
7
แนวคิดใหม่ที่เกิดขึ้น
มีความสะดวก มีคำแนะนำ เข้าถึงได้ง่าย สบายกาย สบายใจ ไม่รู้สึกถูกบังคับ ให้โอกาส มีทางเลือก ไม่กระทบเศรษฐกิจ
8
การปรับเปลี่ยน เก้าอี้สนามที่สามารถเอนหลังได้มากและมีพื้นที่กว้าง
หมอนวางแขนกันเมื่อย มีห้องให้นมที่มิดชิดและเป็นส่วนตัว การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพมารดา ใกล้ชิดพยาบาลสามารถแนะนำได้สะดวก ห้องพักในโรงพยาบาล
9
หอผู้ป่วยSub NICU
13
มีห้องให้นมที่มิดชิดและเป็นส่วนตัว
14
เก้าอี้สนามที่สามารถเอนหลังได้มากและมีพื้นที่กว้าง
15
หมอนวางแขนกันเมื่อย
17
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพมารดา
18
บอร์ดความรู้ต่าง ๆ
19
ใกล้ชิดพยาบาลสามารถแนะนำได้สะดวก
20
การให้ทางเลือก กรณีที่มารดาต้องการอยู่ให้นมบุตรสามารถทำได้หลายกรณี
ไป - กลับ(บ้านใกล้) มีห้องพักให้ เบิกข้าวให้ สามมื้อ ตอนกลางวันสามารถอยู่ให้นมบุตรได้ตลอดเวลา ประมาณ น ให้ไปพักผ่อนที่ห้องพัก (สามารถพักได้มากที่สุด 3 คน)
21
ผลที่ได้รับ ทารกมีโอกาสได้รับนมมารดา ส่งเสริมพัฒนาการทารก ส่งเสริมสายใยรัก มารดาไม่เครียด ไม่ปวดหลัง สามารถงีบหลับได้บางครั้ง น้ำนมไหลได้ดีขึ้น ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่างมารดาด้วยกัน
22
ผลที่ได้รับ เพิ่มพูนความรู้จากบอร์ดด้านข้าง
ผ่อนคลายความเครียดจากหนังสือและรูปภาพ มีกำลังใจในการเลี้ยงดูบุตร สามารถสังเกตความผิดปกติของบุตรขณะดูดนม โดยมีพยาบาลอยู่ให้คำปรึกษาตลอด มีความมั่นใจในการเลี้ยงดูบุตรเมื่อรับกลับบ้าน
23
การใช้ประโยชน์ของห้องให้คุ้มค่า คุ้มทุน(เริ่มปฏิบัติ)
ปรับใช้เป็นห้องให้สุขศึกษาและคำแนะนำก่อนรับบุตรกลับบ้าน ปรับใช้เป็นห้องประเมินพัฒนาการเด็กที่เคย admit และมา FU โดยมารดาพามาเยี่ยม ปรับใช้เป็นห้องส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ (โยคะแบบง่าย พักผ่อนยามว่าง)
24
การใช้ประโยชน์ของห้องให้คุ้มค่า คุ้มทุน(โครงการในอนาคต)
ปรับใช้เป็นห้องนวดกระตุ้นพัฒนาการ และการจัดกระดูกและกล้ามเนื้อ(มีพยาบาลที่ได้รับการอบรมมณีเวช) ปรับใช้เป็นห้องให้คำปรึกษากรณี unwanted child, มารดา HIV (มีพยาบาลปริญญาโท จิตวิทยาการปรึกษา) ปรับใช้เป็นห้องตรวจหูทารก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.