ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
ผังจุดหมายปลายทาง หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม อ.วังสามหมอ และอ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี พ.ศ – (ระยะเวลา 3 ปี) กำหนดวันที่ กันยายน มุมมองประชาชน หญิงตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ชุมชนได้รับบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง มุมมองภาคี อปท.มีนโยบายและสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก อปท.ให้ความรู้และร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก โรงเรียนให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน มีจิตอาสาโรงเรียนตรวจเยี่ยมสุขภาพแม่และเด็ก มีการรวบรวมข้อมูล และจัดเก็บข้อมูลโดย อสม. มี อสม.ประชาสัมพันธ์และมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน มุมมองกระบวนการ มีระบบบริการได้คุณภาพ การประสานงานและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีการทำงานเป็นทีม โดยสาขาวิชาชีพและภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ มีการจัดการนวัตกรรมที่ดี มีการจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน บุคลากรทุกคนมีความรู้และทักษะในงานอนามัยแม่และเด็ก บุคลากรทุกคนมีความรู้ ทักษะในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ มีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีคุณภาพ มีทีมงานที่มีคุณภาพ บุคลากรมีขวัญและกำลังใจในการทำงาน
2
มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จ. อุดรธานี กำหนด ณ วันที่ กันยายน 2554 ชุมชนมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง -สรรหาบุคลากรเพื่อทำหน้าที่สื่อสารเรื่องแม่และเด็ก -สร้างคลังความรู้ด้านสุขภาพแม่และเด็ก -สนับสนุนเครือข่ายสื่อมวลชนให้มีต้นแบบที่ดีด้านสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม -ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม -รณรงค์และประชาสัมพันธ์ -ส่งเสริมให้มีแม่ตัวอย่างในชุมชน วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม -จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเยาวชนและชุมชน -สร้างระบบเฝ้าระวังวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมและเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ -ผลักดันให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ชุมชนมีข้อมูลด้านสุขภาพแม่และเด็กอย่างครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน -พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล -พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่จัดเก็บข้อมูล -ผลักดันการนำข้อมูลด้านสุขภาพแม่และเด็กมาใช้ในชุมชน ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับหญิงตั้งครรภ์ -ส่งเสริมให้ชุมชนมีมาตรการการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน มุมมองประชาชน (Valuation) อปท.มีนโยบายสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง -จัดเวทีการเสวนาด้านสุขภาพ -ผลักดันข้อบัญญัติของท้องถิ่น -จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ -จัดการข่าวสารด้านสุขภาพ -ปรับปรุงวิธีการประชาสัมพันธ์ -ส่งเสริมการจัดกิจกรรมสุขภาพในชุมชน โรงเรียนตรวจเยี่ยมสุขภาพแม่และเด็กโดยจิตอาสาอย่างมีประสิทธิภาพ -สร้างความเข้มแข็งให้กับจิตอาสา -กำหนดบทบาทหน้าที่จิตอาสา -สร้างความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย(อบต.,อสม,สื่อมวลชน) โรงเรียนให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง -ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก -สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างแม่และเด็ก -พัฒนาระบบการรับรู้ข่าวสารในชุมชนและโรงเรียน ระบบข้อมูลแม่และเด็ก ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน -พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล -ส่งเสริมการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดเก็บข้อมูล อสม.ประชาสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง -พัฒนาระบบการรับรู้ข่าวสารในชุมชน -ปรับวิธีการประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมการจัดกิจกรรมสุขภาพในชุมชน มุมมองภาคี (Stakeholder) ระบบบริการที่มีคุณภาพ -พัฒนาระบบฝากครรภ์ คลอด หลังคลอดให้มีคุณภาพ -พัฒนาเครือข่ายด้านการแพทย์และระบบส่งต่อ -พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(ช่องทางต่างๆ) -จัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัย -พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการนวตกรรมที่ดี -สนับสนุนให้คิดค้นนวัตกรรม -สร้างคลังนวตกรรมสุขภาพ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ -สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับภาคีเครือข่าย -สรรหาแหล่งทุนในชุมชน -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคีเครือข่าย การประสานงานและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบการนิเทศติดตามประเมินผล -พัฒนาระบบการสื่อสาร -พัฒนาเทคโนโลยีการติดตามประเมินผล มุมมองกระบวนการ (Management) มีระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล -พัฒนาระบบการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล -ส่งเสริมให้มีการประเมินผล และการบริหารจัดการข้อมูลที่ดี -ส่งเสริมการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เจ้าหน้าที่ทุกคนมีศักยภาพในการปฏิบัติงานและบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกคนให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน -พัฒนาบุคลกรทุกคนในการบริหารจัดการข้อมูล -จัดเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการบริหารจัดการข้อมูล บุคลากรมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานและมีจิตสำนึกที่ดีที่เอื้อต่อการทำงานเป็นทีม -สร้างจิตสำนึกที่ดีแก่บุคลากร -ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี -เชิดชูบุคลากรที่ปฏิบัติงานได้ดี องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน -พัฒนาแนวทางการปฏิบัติงาน -ส่งเสริมการปฏิบัติงานตามแนวทางที่กำหนด - เผยแพร่แนวทางการปฏิบัติงาน มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)
3
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) :การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อำเภอวังสามหมอ และอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ ( 2 ปี ) กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ อสม.ประชาสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนให้ความร็ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.สนับสนุนงบประมาณดำเนินงานทุกปี ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบบริการที่มีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) การประสานงานและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ทุกคนมีศักยภาพในการปฏิบัติงานและบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
4
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) :การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อำเภอวังสามหมอ และอำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ลูกศรสีแดงแสดงเส้นทางด่วน กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ อสม.ประชาสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนให้ความร็ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.สนับสนุนงบประมาณดำเนินงานทุกปี ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบบริการที่มีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) การประสานงานและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ทุกคนมีศักยภาพในการปฏิบัติงานและบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
5
แผนปฏิบัติการ (Mini SLM) : การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
อำเภอวังสามหมอ และ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ ( 1 ปี ) กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ อสม.ประชาสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.สนับสนุนงบประมาณดำเนินงานทุกปี ระบบบริการที่มีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) การประสานงานและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าที่ทุกคนมีศักยภาพในการปฏิบัติงานและบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน
6
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองประชาชน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิ ภาพ ส่งเสริมพฤติกรรมบุคคลในครอบครัวดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ประกวดครอบครัวต้นแบบ 1.แต่งตั้งคณะทำงาน ทุกครอบครัวในชุมชนมีส่วนร่วมในการประกวดครอบครัวต้นแบบ คณะ 1 ชุมชนจัดประกวดและมีครอบ ครัวต้นแบบด้านแม่และเด็ก - ม.ค. 2555 อสม./ผู้นำ 2.เขียนโครงการของบประมาณจากเทศบาล โครงการ 3.ชุมชนเตรียมการกำหนดเกณฑ์ครอบครัวต้นแบบ 2/20 1,000 ก.พ., มี.ค. 2555 4.ประสานคณะกรรมการตัดสินครอบครัวต้นแบบ ครั้ง/คน 1/3
7
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ กันยายน มุมมองประชาชน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ชุมชนมีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กที่มีประสิทธิ ภาพ (ต่อ) 5.ชี้แจงเกณฑ์การตัดสินให้ชุมชนรับทราบ ครั้ง/สัปดาห์ 2/1 - มี.ค. 2555 คณะทำงาน 6.บันทึกพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแม่และเด็กของครอบครัว 5/1 มี.ค.-เม.ย. 2555 7.ประกาศผลตัดสินมอบรางวัล ยกย่องครอบครัวต้นแบบ ครั้ง 1 30,000 14 เม.ย. 2555 ชุมชน/ คณะทำงาน 8.สรุปผลการดำเนินกิจกรรม พ.ค. 2555
8
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) โรงเรียนให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพนักเรียน โครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในโรงเรียน 1.ประชุมวางแผน -นักเรียนสุขภาพดีมิจิตแจ่มใส และใส่ใจสุขภาพ จำนวนครั้ง 1 ครั้ง/ภาคเรียน ครูมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง จำนวน 10,000 บาท (เทศ บาลตำบลจำปี) พ.ย. 2554 ครูอนามัยโรงเรียน 2.เขียน/เสนอโครงการ จำนวนโครงการ 1 โครงการ 3.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ มีคำสั่งแต่งตั้ง 1 ชุด 4.กิจกรรมที่ดำเนินการ จำนวนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 50 คน ชั่งน้ำหนัก 1 มิ.ย. 2555 วัดส่วนสูง 10 ต.ค. 2555 - ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารดีมีประโยชน์ ก.ค. 2555 5.ติดตามผล 1 ครั้ง ส.ค. 2555 6.สรุปผล มีเอกสารสรุปผลฯ 1 ชุด ก.ย. 2555
9
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารด้านสุขภาพ จัดหาข่าวสารด้านสุขภาพ โครงการส่งเสริมด้านสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน 1.หาแหล่งข่าวสารด้านสุขภาพจาก อสม.สถานีอนามัย,รพ. วัยรุ่นและหญิงตั้งครรภ์ต้องรับรู้ข่าวสารแล้วนำไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม อบรมเรื่อง การมีเพศ สัมพันธ์แก่เยาวชน 100 คน ผู้นำชุมชนมีการสรรหาข่าวสารด้านสุขภาพ และนำมาเผยแพร่ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 20,000 1ต.ค.-31 ต.ค. 2554 ผู้นำชุมชน 2.ขอรับการสนับสนุนข่าวสารจากแหล่งต่างๆ 1พ.ย.-30พ.ย. 2554 3.จัดทำทะเบียนข่าวสารด้านสุขภาพ ธ.ค. 2554 4.คัดเลือกเนื้อหา ก.พ. 2555 5.กำหนดผู้รับผิดชอบและเวลาในการเผยแพร่ มี.ค. 2555
10
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ผู้นำเผยแพร่ข่าวสารด้านสุขภาพ (ต่อ) 6.เผยแพร่ข่าวสาร จำนวนครั้ง 1 1ก.พ ก.พ. 2555 7.ติดตามการรับรู้ข่าวสาร ทุกเดือน 8.สรุปผลการเผยแพร่ข่าวสาร ก.ย. 2555
11
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) อสม.ประชา สัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการจัดกิจกรรมสุขภาพในชุมชน กิจกรรมโครง การ 2 วัยใส่ใจสุขภาพ(เพื่อส่งเสริมแม่-เด็กมีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัมขึ้นไป) 1จัดตั้งคณะทำงาน ปรุชมวางแผน จำนวนครั้ง 2 ครั้ง อสม.มีการจัดให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายมีการพยาบาลประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง - 1 ต.ค. 2554 อสม.ทุกคน 2.จัดทำโครงการและขออนุมัติ โครงการได้รับอนุมติ 1 โครงการ 50,000 พ.ย. 2554 3.ประสานงานวิทยากร จำนวน -จัดเตรียมเอกสาร -สถานที่จัดประชุม 4.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เรื่องการป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (เยาวชน-วัยทำงาน) จำนวนผู้เข้ารับอบรม 30 คน ธ.ค. 2554 5.ประสานความร่วมมือผู้นำ รร.อบต. ผู้นำท้องถิ่น เพื่อร่วมจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ ต.ค. 2554
12
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ - อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) อสม.ประชา สัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง (ต่อ) 6.ร่วมจัดกิจกรรมหรือประชาสัมพันธ์ข่าวสารแม่และเด็กในชุมชน ต.ค.-ก.ย. 2554 7.ประชา สัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว จำนวนครั้ง 1ครั้ง/เดือน 8.ติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม จำนวนผู้รับการติดตาม 30 คน ก.พ. 2555 9.สรุปผลการจัดอบรม 1 ชุด ก.ย. 2555 -การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
13
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประ มาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) อปท.มีนโยบายสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง จัดสรรงบ ประมาณสนับสนุนการดำเนิน งาน สนับสนุนงบ ประมาณดำเนิน การป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย 1.นำเรื่องเสนอเข้าที่ประชุมสภา จำนวนเรื่อง - อปท.จัดทำร่างเทศบัญญัติจัดตั้งงบ ประมาณสนับสนุนทุกปี 300,000 1 ต.ค. 2554 คณะกรรมการผู้บริหาร 2.จัดทำร่างเทศบัญญัติงบประมาณ จำนวนร่างเทศบัญญัติ ธ.ค. 2554 3.จัดตั้งงบประมาณ 4.ประกาศเทศบัญญัติงบประมาณ ม.ค. 2555 5.รวบรวมและตรวจสอบโครงการที่ขอรับการสนับสนุน จำนวนโครงการ ก.พ. 2555 6.อนุมัติโครงการ จำนวนโครงการที่อนุมัติ
14
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ- อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองภาคี เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) อปท.มีนโยบายสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง (ต่อ) 7.แจ้งและจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานที่ได้รับการพิจารณา จำนวนครั้ง - ส.ค. 2555 8.ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ ก.ย. 2555 9.สรุปผลการดำเนินงาน มีเอกสารสรุปผลฯ 1 ชุด ก.ย. 2555
15
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ กันยายน มุมมองกระบวนการ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ระบบบริการที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบฝากครรภ์ คลอด หลังคลอดให้มีคุณภาพ กำหนดมาตรฐาน 1.ประชุม MCH หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับบริการที่มีคุณภาพ -จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม อ.วังสามหมอ 20 คน อ.ศรีธาตุ 20 คน สถานบริการมีการจัดทำมาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงานฝากครรภ์ให้บริการประชาชนตามคู่มืออย่างต่อเนื่อง งบ pp จำนวน 2,000 ต.ค.2554 -ต.ผาสุก อังคณา นงคราญ กำไลมาศ รพ ชุตุนันท์ -อ.ศรีธาตุ รักษ์นารี น้ำฟ้า -ร.พ สวรรณา 2.ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน -ได้ข้อ กำหนดมาตรฐาน จัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติ งานการฝากครรภ์ คลอด หลังคลอดให้มีคุณภาพ -งบ pp -วังสามหมอ 3,000 -ศรีธาตุ 3,000 2.ร่วมกันกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานการฝากครรภ์ คลอด หลังคลอดให้มีคุณภาพ -ได้คู่มือแนวทางการปฏิบัติ งานการฝากครรภ์ คลอด หลังคลอด ให้มีคุณภาพ พ.ย.2554
16
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน มุมมองกระบวนการ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) ระบบบริการที่มีคุณภาพ (ต่อ) สถานบริการปฏิบัติตามคู่มือ 1.ประชุมชี้แจงมาตรฐานตามคู่มือ -จำนวนผู้เข้าประชุม 20 คน/ครั้ง(2 ครั้ง/ปี) งบ pp พ.ย. 2554 2.หน่วยบริการปฏิบัติตาม -สถานบริการใช้คู่มือในการปฏิบัติ งาน 100 % ของสถานบริการ พ.ย. 2554- ก.ย. 2555 3. ติดตามการใช้คู่มือในการให้บริการ จำนวน ครั้ง .....ครั้ง ส.ค. 4. สรุปผลการดำเนินงาน มีเอกสารสรุปผลฯ 1 ชุด
17
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ- อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองกระบวนการ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) การประสานงานและการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการนิเทศติดตามประเมินผล กำหนดเกณฑ์การประเมินนิเทศติดตามประเมิน ผล ประชุมแต่งตั้ง จำนวนคน 10 คน สถานบริการมีการติดตามงานอย่างต่อเนื่อง 10,000 พ.ย.2554 ผู้รับผิดชอบงาน 1.คณะกรรมการ 2.สร้างแบบนิเทศ/แบบประเมิน มีแบบนิเทศ/แบบประเมิน 1 ชุด พ.ย. 2554 3.ชี้แจงแบบนิเทศ/แบบประเมิน จำนวนคนเข้ารับฟัง ......คน ธ.ค. 2554 4.นำไปใช้ จัดทำแผนการินเทศ 1.ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ/ประเมิน 20 คน 2.000 2.แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ/ประเมิน 1,000 3.จัดทำแผนการนิเทศ/ประเมิน มีแผนการติดตามฯ 4.ออกนิเทศติดตามแผน ครั้ง/คน 2/10 คน 1,500 พ.ค.- ส.ค. 2555 5.สรุปผลการนิเทศ -มีสรุปผล ก.ย. 2555
18
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ- อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองพื้นฐาน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกคนให้มีความรู้ความ สามารถในการปฏิบัติงาน ประชุมเชิงปฏิบัติการ งานอนามัยแม่และเด็ก 1.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน คนในชุมชนรับทราบการพัฒนา มีคณะกรรมการดำเนินงาน 1 คณะ /10 คน ผู้รับผิดชอบงานมีการพัฒนาความรู้และสามารถให้ บริการงานอนามัยแม่และเด็ก งบ pp คปสง. ต.ค. 2554 -ณัฐนิชา หนูทอง -ศุภร เติมทรัพย์ 2.ประชุมคณะกรรมการ ของบุคลากร มีการประชุมคณะกรรมการ 1 ครั้ง 10x100 บ. =1,000 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ มีกาจัดทำโครงการ 1 โครงการ 4.ประสานวิทยากร มีการประสานวิทยากร พ.ย. 2554 5.ประสานสถานที่ มีการประสานสถานที่
19
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองพื้นฐาน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประ มาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกคนให้มีความรู้ความ สามารถในการปฏิบัติงาน (ต่อ) 6.ประสานผู้เข้ารับการอบรม ประสานผู้เข้าอบรม 1 ครั้ง พ.ย. 2554 7.จัดเตรียมเอกสาร จัดเตรียมเอกสาร 60 ชุด 60x100 =6,000 8.ดำเนินการประชุม/ประเมินผล มีการดำเนินการประชุม 2 รุ่น 9.ติดตามผลการดำเนินงาน มีการติดตามประเมินผล 2 ครั้ง/ปี(โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้) 20x100x2 =4,000 ก.พ.-มิ.ย. 2555 10.ประเมินผลการดำเนินงาน มีการสรุปผลการดำเนินงาน 20x60=1,200 รวม 24,200 ส.ค. 2555
20
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ.ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองพื้นฐาน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน พัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจนและมีประสิทธิ ภาพมากขึ้น จัดประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานอนามัยแม่และเด็ก 1.จัดตั้งคณะกรรมการโครงการ ชุมชนรับทราบแนวทาง มีคณะกรรม การโครงการ 1 ชุด สถานบริการมีแนวทางการปฏิบัติ งานที่มีประสิทธิภาพ งบ pp คปสอ. 10x100=1,000 ต.ค. 2554 -ณัฐณิชา หนูทอง -ศุภร เติมทรัพย์ 2.ประชุมคณะกรรมการ การรับบริการอนามัยแม่และ มีการประชุมคณะ กรรมการ 1 ครั้ง 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ เด็ก จัดทำโครงการ 1 โครงการ พ.ย. 2554 4.ประสานคณะกรรมการโครงการ มีการประสานคณะ กรรมการ 5.จัดเตรียมสถานที่ มีการจัดเตรียมสถานที่ 6.จัดเตรียมเอกสาร มีการจัดเตรียมเอกสาร 10 ชุด
21
ตารางเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่อง การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อ.วังสามหมอ – อ. ศรีธาตุ จ.อุดรธานี ภายในปี กำหนดวันที่ 21 กันยายน 2554 มุมมองพื้นฐาน เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับผิด ชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) องค์กรมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน (ต่อ) 7.ดำเนินงานประชุม มีการดำเนินงานประชุม 1 ครั้ง 10x60=600 พ.ย. 2554 8.มีร่างแนวทางการปฏิบัติงาน มีแนวทางการปฏิบัติงานฉบับร่าง 1 ชุด 10x100=1,000 ธ.ค. 2554 9.ติดตามและประเมินผล มีการติดตามและประเมินผล 13x60=780 ก.พ. 2555 10.สรุปผล/ปรับแนวทางการดำเนินงาน มีการสรุปทบทวน/ปรับปรุงแนวทางการดำเนินงาน พ.ค. 2555 11.มีแนวทางดำเนินงานที่ชัดเจน มีแนวทางดำเนินงานที่ชัดเจน รวม 5,160
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.