ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTheera Panomyaong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 จังหวัดอุดรธานี วันที่ 21 กันยายน 2553
2
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด เอ (H1N1)
จำแนกรายอำเภอ จังหวัดอุดรธานี ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค ก.ย. 53 หนองคาย N นายูง 3 อ.ท่าบ่อ สร้างคอม บ้านดุง เลย น้ำโสม 2 เพ็ญ 3 บ้านผือ 8 ทุ่งฝน 6 3 พิบูลย์รักษ์ กุดจับ 5 เมือง หนองหาน 201 4 สกลนคร หนองบัวลำภู หนองวัวซอ กู่แก้ว ไม่มีรายงานผู้ป่วย 8 ก.ประจักษ์ ไชยวาน 4 กุมภวาปี พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ชนิด เอ (H1N1) หนองแสง 5 วังสามหมอ 2 ศรีธาตุ โนนสะอาด 1 3 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 258 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย กาฬสินธุ์ ขอนแก่น
3
ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี
จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ จังหวัดอุดรธานี จำแนกตามวันเริ่มป่วย ข้อมูลวันที่ 1 ม.ค. 53 – 20 ก.ย. 53 = เสียชีวิต มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน จำนวนผู้ป่วย 258 ราย อัตราป่วย /ประชากรแสนคน , จำนวนผู้เสียชีวิต 2 ราย ที่มา: งานระบาดวิทยา สสจ.อุดรธานี
4
แสดงค่าเฉลี่ย 7 วัน ของสัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษาในจังหวัดอุดรธานี (สัปดาห์ที่ 1-36) 13.37
5
จำนวนวันของการส่งรายงาน ILI จำแนกรายสถานบริการ ระหว่าง วันที่ 12-18 ก
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 37 วันที่ 12 – 18 กันยายน 2553
6
นโยบาย รมต.สาธารณสุข VDO conference 14 Aug.2010
เร่งรัดการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลแก่กลุ่มเสี่ยง หากพบผู้ป่วยให้ยาต้านไวรัสOseltamivirทันที ไม่ต้องกังวลดื้อยา ค้นหาการเจ็บป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster) สถานที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก ต้องมีการคัดกรอง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค ให้ประสานและร่วมกับ อปท. ทุกระดับ และ อสม.ครู นร. ค้นหาผู้ป่วย และรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทางอย่างเข้มข้นในมาตรการป้องกันควบคุมโรค(ปิด ล้าง เลี่ยง หยุด)
7
เสริม ๔ พฤติกรรมป้องกันโรค โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙
๑. ปิด : ปิดปากปิดจมูกอย่างถูกต้องเมื่อไอจาม ๒. ล้าง : ล้างมือบ่อยๆ และทุกครั้งหลังไอ จาม ก่อนรับประทานอาหาร ๓. เลี่ยง : สถานที่เสี่ยง (แออัด ทึบ อากาศไม่ถ่ายเท แสงแดดส่องไม่ถึง) ใกล้ชิดผู้มีอาการป่วย (ไอ จาม ) ๔. หยุด : เมื่อป่วย (หยุดงาน หยุดเรียน หยุดกิจกรรม) เพื่อให้หายป่วยเร็วและไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่น
8
ดำเนินงาน ๔ มาตรการ ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่๒๐๐๙
รับรู้ : รู้เรื่องโรค รู้สถานการณ์โรค รู้ความเสี่ยงของตนเอง ร่วมเร่ง : การจัดการความร่วมมือทุกภาคส่วนในการป้องกัน ควบคุมโรค ๓. ลดป่วย : สนับสนุนการดำเนินงานของทุกภาคส่วน ๔. ลดตาย : การป้องกันในกลุ่มเสี่ยงป่วยรุนแรง การรักษาเร็ว ได้ยาเร็ว รวมทั้งลดการระบาดเป็นกลุ่มก้อน
9
สร้างความปลอดภัยใน๔กลุ่มคน จากโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙
วัยเรียน : ทุกระดับชั้น ถึงระดับอุดมศึกษา (เน้นชั้นอนุบาล ประถม) วัยทำงาน : สำนักงาน โรงงาน ฯลฯ วัยอยู่บ้าน : เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : ผู้ป่วยโรคปอด หัวใจ ไต ฯ รวมทั้งกลุ่มเสี่ยง ป่วยรุนแรง เช่น หญิงตั้งครรภ์ ผู้เป็นโรคอ้วน
10
มาตรการเตรียมความพร้อมและการจัดการ การระบาดไข้หวัดใหญ่ จังหวัดอุดรธานี ปี 2553
การเฝ้าระวังโรค เฝ้าระวังอย่างเข้มข้นใน รพ./สอ./รร. และค่ายทหาร สถานประกอบการ เฝ้าระวังผู้ป่วยนอกในกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ใน รพ. ตามระบบ รง. การป้องกันการระบาด สถานที่ที่มีคนรวมตัวกันจำนวนมากเสี่ยงต่อการระบาดได้ง่าย ควรนำคำแนะนำกระทรวงสาธารณสุขกลับมาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เช่น โรงเรียน,โรงงาน และค่ายทหาร การดูแลรักษาผู้ป่วย เน้นแพทย์ทั้งใน รพ. / คลินิก วินิจฉัยและให้การรักษาผู้ป่วยโดยใช้อาการทางคลินิกเป็นหลัก ให้ยาต้านไวรัสโดยเร็ว การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เร่งเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ,รณรงค์ฉีดวัคซีนไข้หวัดฯ ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน
14
กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง
โรคหอบหืดหรือโรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด (ยกเว้น ผู้มีความดันโลหิตสูงอย่างเดียว) โรคที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ หรือ ได้รับการรักษาที่กดภูมิต้านทาน โรคเอดส์ โรคมะเร็ง โรคไตเรื้อรัง ภาวะความผิดปรกติทางเมตาโบลิซึม เช่น โรคเบาหวาน โรคธาลัสซีเมีย (ไม่รวมผู้เป็นพาหะ)
15
กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง
หญิงตั้งครรภ์ โรคอ้วน ผู้ใหญ่: BMI=น้ำหนัก (กก.)/ส่วนสูง (ม.)2 >30 (หรือ 40) เด็ก: น้ำหนัก/ส่วนสูง มากกว่าค่ามาตรฐาน 40% เด็กอายุ <18 ปี ที่กำลังกินยาแอสไพรินรักษาโรค เช่น โรคคาวาซากิ รูมาตอยด์ มีความผิดปรกติทางระบบประสาท โรคลมชัก ที่จะทำให้ป้องกันการแพร่เชื้อยาก อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี
16
กลุ่มเสี่ยงน้อยกว่า อายุน้อยกว่า 2 ปี หรือ มากกว่า 65 ปี
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และ อยู่ในระดับปรกติจากการรักษา ติดเชื้อ HIV ที่มี CD4 >350/uL โรคระบบประสาทที่ผู้ป่วยรับรู้และดูแลตัวเองได้ดี ไม่มีปัญหาการหายใจและการสำลัก
19
การรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2553 รอบที่ 1 รณรงค์ 11 ม.ค.-31 พ.ค.53 เป้าหมายวัคซีน 32,960 ราย ผลการให้บริการ 30,517 ราย(92.6%) รอบที่ 2 รณรงค์ 1 ก.ค. – 20 ก.ย.53 เป้าหมายวัคซีน 42,434 โด๊ส ผลการให้บริการ 29,053 ราย(68.46%) กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรทางสาธารณสุขและ ผู้กำจัดซากสัตว์ปีก หญิงตั้งครรภ์ 7 เดือนขึ้นไป เด็กอายุ 6 เดือน-2ปี ทุกคน คนอ้วน น้ำหนักมากกว่า 100 กก. ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน ผู้ป่วยเรื้อรัง 9 กลุ่มโรค ผู้พิการทางสมองช่วยตัวเองไม่ได้ COPD,หอบหืด, หัวใจ, CVA, ไตวาย, เคมีบำบัด, DM,ธาลัสซีเมีย, ภูมิคุ้มกันบกพร่องรวม HIV ที่มีอาการ
20
ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 20 กันยายน 2553
ผลการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ปี จังหวัดอุดรธานี ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม – 20 กันยายน 2553 ลำดับ หน่วยบริการ เป้าหมาย จำนวน ร้อยละ 1 รพ.โนนสะอาด+สอ 2,166 2,174 100.4 2 รพ.ศรีธาตุ 1,240 1235 99.6 3 รพ.ไชยวาน 1,672 1,606 96.1 4 รพ.ทุ่งฝน 1,384 1,293 93.4 5 รพ.เพ็ญ 3,556 3,292 92.6 6 รพ.หนองหาน 3,244 2,745 84.6 7 รพ.วังสามหมอ 1,948 1,623 83.3 8 รพ.นายูง 836 691 82.7 9 สสจ.อุดรธานี+หน่วยอื่น 1,448 1,182 81.6 10 รพ.อุดรธานี 5,420 3,950 72.9 11 รพ.ร.บ้านดุง 2,612 1,897 72.6 12 รพ.หนองแสง+สอ 812 583 71.8 13 รพ.น้ำโสม 1,496 1,068 71.4 14 รพ.พิบูลย์รักษ์ 652 412 63.2 15 รพ.สร้างคอม 689 406 58.9 16 รพ.บ้านผือ+สอ 3,000 1,653 55.1 17 รพ.นอร์ทอีสเทอร์นวัฒนา 636 275 43.2 18 รพ.กุมภวาปี+สอ 6,392 2,303 36.0 19 รพ.กุดจับ 1,668 413 24.8 20 รพ.หนองวัวซอ 1,563 252 16.1 รวม 42,434 29,053 68.5
21
Check list บันทึกข้อมูล ILI ทุกวัน ค้นหาผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน(Cluster)
ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กลุ่มเสี่ยง และบันทึก Online สรุปการใช้ยา Oseltamivir ทุกวันพฤหัสฯ บันทึก VMI วัคซีนทุกวันศุกร์ จนกว่าจะหมด ยาต้านไวรัส ทุกวันที่ 25 ของเดือน อุปกรณ์ป้องกัน ทุกวันที่ 25 ของเดือน ประชาสัมพันธ์ ความรู้ การป้องกัน สื่อทุกแขนงในพื้นที่
22
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.