ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChompunut Kunakorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
2
อัตราต่อปชกแสนคน
3
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก
4
ลำดับที่Reporting areascasesMorbidity ratedeaths 1 Krabi952220.010 2 Rayong61397.861 3 Satun22876.730 4 Ranong13774.831 5 Trat14666.090 6 Chanthaburi34066.070 7 Samut Sakhon31764.450 8 Ratchaburi50560.192 9 Phuket20459.121 10 Uthai Thani19057.930 รวมทั้งประเทศ17,08626.7518 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2555 (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) แหล่งที่มา: http://dhf.ddc.moph.go.th/Status/2555/week08.pdf สืบค้น ณ26มิย55http://dhf.ddc.moph.go.th/Status/2555/week08.pdf
5
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม - ค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี (2550-2554) = 1,363 ราย คิดเป็น อัตราป่วย ไม่เกิน 164 ต่อประชากรแสนคน - เป้าหมายลดลงร้อยละ 20 จากค่า Median = 1,090 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 131 ต่อประชากรแสนคน
6
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
7
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามรายเครือข่าย (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
8
โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555จำแนกตามนิยาม(ข้อมูล ณ 26 มิย 55) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
9
พื้นที่ที่ต้อง กำกับติดตาม
10
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (ข้อมูล ณ 26 มิย 55)
11
สถานการณ์ โรคมือ เท้า ปาก
13
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
14
โรคมือ เท้า ปาก อาการแทรกซ้อนที่ควรเฝ้าระวัง –หากรับประทานอาหารได้น้อย และมีภาวะขาดน้ำ - ควรรีบไปโรงพยาบาลหากมีอาการดังนี้ ไข้สูงมาก ซึมลง และอาเจียนบ่อย มีอาการหายใจ หอบเหนื่อย แขนขาอ่อนแรง วิธีการป้องกันที่สำคัญ –แยกผู้ป่วย และรักษาสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ดี ทำ ความสะอาดเครื่องใช้และของเล่น –หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของเครื่องใช้ร่วมกัน –เน้นการล้างมือด้วยน้ำและสบู่ –หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปในที่ชุมชนแออัด
15
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยกลุ่มอาการมือ เท้า ปาก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (ข้อมูล ณ 26 มิย 55)
16
Darunee Phosri 30 062012
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.