งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
วันที่ ธันวาคม 2550 ณ ห้องประชุมมหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี

2 หัวข้อ ความสำคัญของ SRRT ปัญหาการปฏิบัติงานที่พบในปี 2550
การแก้ไขปัญหาปี 2551 ประเด็นหารือเรื่องต่าง ๆ

3 ความสำคัญของ “งานระบาดวิทยา และทีม SRRT ”

4 สรุปจำนวนทีม SRRT (ณ วันที่ 1 มีนาคม 2549)
ระดับทีม จน.หน่วยงาน จน.ทีม ที่แต่งตั้งจริง หมายเหตุ (เกณฑ์เดิม) ทีมอำเภอ (876 อำเภอ + 65 ศูนย์บริการ สธ. กทม.) 941 961 เดิม 926 อำเภอ อำเภอละ 1 ทีม ทีมจังหวัด+กทม. 76 128 จังหวัดละ 1 ทีม ทีมเขต (สคร.) 12 41 เขตละ 2 ทีม ทีมส่วนกลาง 1 8 4 ทีม รวม 1,030 1,138 1,030 ทีม

5 ประเด็นปัญหาที่พบ ในปี 2550

6 ตารางการทำงาน ระบาดวิทยาและSRRT ปี งบประมาณ 2550

7 นโยบายและการจัดการ พัฒนาบุคลากร พัฒนาปฏิบัติการ พัฒนาเครือข่าย
นโยบายพัฒนา SRRT เร่งรัดผลงานการสอบสวนโรค พัฒนามาตรฐาน SRRT ดำเนินการเรื่องค่าตอบแทน พัฒนาบุคลากร พัฒนาทีมงานโดยฝึกอบรม จัด/สนับสนุนการจัดอบรม พัฒนาปฏิบัติการ พัฒนา/ปรับปรุงระบบงาน (การส่งรายงานสอบสวนโรค, ตรวจจับการระบาดฯ) สนับสนุนการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พัฒนาเครือข่าย พัฒนาเครือข่ายสมาชิกทีม SRRT ระดับอำเภอ, ตำบล พัฒนาเครือข่ายอิเลคโทรนิคส์และจัดทำเวบไซต์ ?

8 การระบาดของโรคที่พบบ่อยในพื้นที่
ไข้เลือดออก มือ เท้า ปาก ไข้กาฬหลังแอ่น อาหารเป็นพิษ

9 ระบบการส่งรายงานสอบสวนโรค
รายงานเป็นเอกสาร อำเภอ จังหวัด สำนักระบาดวิทยา รายงานทางอิเลคทรอนิคส์ ข้อเสนอแนะ เป็นกลุ่มโรค ข้อเสนอแนะ รายฉบับ การให้ข้อเสนอแนะ ตอบรับ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรค การส่งรายงาน Feed back สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรค

10 สานฝัน SRRT

11 ประเด็นหารือ

12 1.เรื่องการส่งรายงานการสอบสวนโรคทั้งทางเอกสารและ File
เป็นโรคที่มีความสำคัญทางนโยบาย: อหิวาตกโรค, ไข้เลือดออก, ไข้หวัดนก, เป็นโรคที่มีความสำคัญเชิงสาธารณสุข เป็นโรคที่ประชาชนให้ความสนใจ

13 ระบบการส่งรายงานสอบสวนโรค
รายงานเป็นเอกสาร อำเภอ จังหวัด สำนักระบาดวิทยา รายงานทางอิเลคทรอนิคส์ ข้อเสนอแนะ เป็นกลุ่มโรค ข้อเสนอแนะ รายฉบับ การให้ข้อเสนอแนะ ตอบรับ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรค การส่งรายงาน Feed back สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรค

14 การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายหมายถึง
การรวบรวมข้อมูลรายละเอียดโรคที่สนใจ หรือเป็นปัญหาที่สำคัญจากผู้ป่วยทีละราย ในขณะที่ยังไม่เกิดการระบาดโดยมีขั้นตอน ได้แก่ รวบรวมข้อมูล ค้นหาการกระจาย ของโรค เก็บตัวอย่างส่งตรวจ ควบคุมโรค เขียนรายงานการสอบสวนโรค

15 โรคที่ต้องมีการสอบสวนผู้ป่วย
เฉพาะรายมีทั้งหมด 31 โรค ดังนี้ 1.อหิวาตกโรค 2.อุจจาระร่วงเสียชีวิต 3.อาหารเป็นพิษ 4.บิด 5.ไข้เอนเทอริค ไข้ไทฟอยด์ ไข้พาราไทฟอยด์

16 6.ตับอักเสบ 7.มือ เท้า ปาก 8.ไข้หวัดใหญ่ 9.ปอดอักเสบเสียชีวิต 10.หัดเยอรมัน 11.สุกใส 12.กล้ามเนื้ออัมพาตอ่อนปวกเปียก แบบเฉียบพลัน

17 13.หัด 14.คอตีบ 15.ไอกรน 16.บาดทะยัก 17.ไข้กาฬหลังแอ่น 18.ไข้สมองอักเสบ 19.เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

18 20.ไข้เลือดออก 21.มาลาเรีย 22.สครับไทฟัส 23.โรคเท้าช้าง 24.ตาแดง 25.พิษสุนัขบ้า 26.เลปโตสไปโรซิส

19 27.แอนแทรกซ์ 28.ทริคิโนซิส 29.อาการภายหลังได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค 30.ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต เฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ 31.โรคที่มีอาการคล้ายคลึงกันและไม่ สามารถระบุสาเหตุได้

20 2. เรื่องคำสั่ง SRRT 3. ศูนย์ข้อมูลอำเภอ

21 ประเด็นอื่น ๆ

22 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google