ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSanan nam Sirisopa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
11
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์
12
เพียเจท์เชื่อว่าโดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ทุกคนมีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เกิด เพราะมนุษย์ทุกคนหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องมีการปรับตัวอยู่ตลอดเวลา ผลจากกระบวนการดังกล่าวจะทำให้มนุษย์เกิดพัฒนาการของเชาวน์ปัญญา
14
ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ
ธรรมชาติของมนุษย์มีพื้นฐานติดตัวตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด คือ 1. การจัดและรวบรวม (organization) 2. การปรับตัว (adaptation) 2.1 การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ (assimilation) 2.2 การปรับโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (accomodation)
15
องค์ประกอบสำคัญที่เสริมพัฒนาการทางสติปัญญา 4 องค์ประกอบคือ
วุฒิภาวะ (maturation) ประสบการณ์ (experience) การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม (social transmission) กระบวนการพัฒนาสมดุลย์ (equilibration)
16
Piaget- devepment
24
Piaget’s Model
25
ขั้นพัฒนาการเชาว์ปัญญา
ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (sensorimotor period) อายุ 0- 2 ปี ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ (pre-operational period) อายุ 2-7 ปี - ขั้นกำหนดความคิดไว้ล่วงหน้า (preconceptual thought) อายุ 2-4 ปี -ขั้นคิดเอาเอง (intuitive thought)อายุ 4-7 ปี
26
ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม (formal operational period) อายุ 11-15 ปี
ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational period ) อายุ 7-11 ปี
27
ทฤษฏีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเคส
พัฒนาการเชาว์ปัญญาเป็นไปตามขั้น (เหมือนทฤษฏีเพียเจท์) พัฒนาการเชาว์ปัญญาเกิดขึ้นเพราะ การเปลี่ยนแปลง
28
ทฤษฏีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของวิก็อทสกี้
เขากล่าวว่า การเข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ จะต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่เด็กได้รับการอบรม เลี้ยงดู มนุษย์จะได้รับอิทธิพลจาก “วัฒนธรรม” พัฒนาการเชาว์ปัญญาของเด็ก จะเพิ่มขึ้นก็ต่อเมื่อการได้รับความช่วยเหลือ จากผู้ใหญ่หรือผู้ใกล้ชิด
29
วิก็อทสกี้ แบ่งระดับสติปัญญาเป็น 2 ขั้นคือ
1.ระดับเชาว์ปัญญาขั้นเบื้องต้น (Elementary mental Processes) เป็นไปตามธรรมชาติไม่ต้องเรียนรู้ 2.ระดับเชาว์ปัญญาขั้นสูง (Higher mental processes) หมายถึง เชาว์ปัญญาที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้ใหญ่ที่ให้การอบรมเลี้ยงดูถ่ายทอดวัฒนธรรมให้โดยใช้ภาษา
30
บทบาทของภาษาในพัฒนาการเชาว์ปัญญา
1.ภาษาสังคม (Social Speech) แรกเกิด-3 ขวบ 2.ภาษาที่พูดกับตนเอง (Egocentric Speech) 3 – 7 ขวบ มีบทบาทสำคัญในการประสานความคิดและพฤติกรรม 3.ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตนเอง(Inner Speech) 7 ขวบขึ้นไป เป็นตัวแปรสำคัญในการพัฒนาการเชาว์ปัญญาขั้นสูง
31
สรุป วิก็อทสกิ้เน้นความสำคัญของสังคมและ
วัฒนธรรมต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการทางเชาว์ปัญญามาก และถือว่าการเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ (พ่อแม่ หรือครู) และเพื่อนในขณะที่เด็กอยู่ในสภาพสังคม (Social Context)
32
ขอขอบคุณ จาก... นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง นางอรุณรุ่ง โยธสิงห์ สวัสดี
ขอขอบคุณ จาก... นายณรงค์ศักดิ์ พรมวัง นางอรุณรุ่ง โยธสิงห์ สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.