งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนาศักยภาพงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพสู่ศูนย์สุขภาพชุมชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 ร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2 แหล่งที่มา : รถเร่ บอกต่อ ไม่แจ้งแหล่งผลิต
ความเป็นมา Dexamethasone Prednisolone , Dexamethasone , Diazepam แหล่งที่มา : รถเร่ บอกต่อ ไม่แจ้งแหล่งผลิต

3 ผลการเฝ้าระวังปัญหายาปนปลอมทางห้องปฏิบัติการต่อเนื่องปี 2542 – 2552
ตัวอย่างทั้งหมด 353 ตัวอย่าง พบการปนปลอม 45 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 12.7

4 ชาวบ้านรู้แค่ไหน สำรวจการรับรู้จากประชาชนทั่วไปใน ชุมชนทั้งอำเภอจำนวน 952 รายพบร้อยละ80.5 ที่ไม่เคยได้ยินเรื่องสารสเตียรอยด์ และร้อยละ 9.7 ของผู้ที่บริโภคยาแผนโบราณมีอาการข้างเคียง เช่นใบหน้าบวม หลังเป็นหนอก แหล่งที่มา ซื้อจากรถเร่ ร้านค้าในชุมชน (ยาชุด ) หาซื้อง่าย หายเร็ว บริการถึงที่ ราคาถูก

5 ทำอย่างไร ประชาชนจึงจะรับรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการจัดการแบบพึ่งตนเอง
กระตุ้น ป้องกัน ตระหนัก ปี : สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหายาสเตียรอยด์ร่วมกับชุมชน สร้างระบบการเฝ้าระวังปัญหาคุณภาพยาภาคประชาชน

6 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรในชุมชนด้านการบริหารจัดการปัญหายาสเตียรอยด์ปนปลอมในยาแผนโบราณด้วยตนเอง โดย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ประชาชนเข้าถึงง่ายอย่างเป็นระบบ

7 วิธีการ สร้างความตระหนัก เสริมแรงกระตุ้น วางแผนป้องกัน
สร้างมาตรการเฝ้าระวังในชุมชน สร้างพี่เลี้ยง สร้างระบบการติดตาม AAR ประชาสัมพันธ์ - เข้าถึงปัญหาที่แท้จริงของชุมชนจากเวทีเสวนาสุขภาพและแบบสอบถาม ชี้ประเด็นสุขภาพ ประโยชน์และโทษของ สเตียรอยด์ ชี้แนะแนวทางแก้ไข สร้างคนในชุมชนพิสูจน์ด้วยตนเอง สร้างความเชื่อมั่นในสังคม รับรองความสามารถ Double blind ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ในชุมชน เตรียมพร้อมชุมชน แจ้งเตือนภัย

8 มาตรการเฝ้าระวังในชุมชน
อสม.แจ้งข่าวลูกบ้าน ซักประวัติ สงสัย ทีมประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนภัย ทีมประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนภัย คัดกรองตัวอย่าง เสี่ยง/ มีประวัติ บันทึก ตรวจเบื้องต้นด้วยชุดตรวจสเตียรอยด์ ไม่พบ พบ รายงานพี่เลี้ยง รายงานพี่เลี้ยง ส่งตรวจยืนยัน ศวก แจ้งเตือนภัย สสจ. กรมวิทย์ / อย.

9 แตกต่างจากงานเฝ้าระวังในปัจจุบันอย่างไร

10 หลักสูตรการสร้างทีมตรวจสอบ : อบรมปฏิบัติการเชิงรุก “ ตลาดนัดสุขภาพ “ จากสถานการณ์จริง 1 วัน นิเทศ 2 ครั้ง สอบ 1 ตัวอย่างภายใน 6 เดือน รับความรู้ทั่วไป ฝึกการคัดกรองและบันทึกตัวอย่าง ฝึกการใช้ชุดตรวจสเตียรอยด์ นิเทศ สอบความสามารถ Double blind

11 ประโยชน์ที่ได้รับ เกิดนวัตกรรมแก้ปัญหาการนำยามาใช้ทางที่ผิด เกิดชุมชนต้นแบบ ของ การเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านยา ที่ผสมผสานองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์กับวิถีการเป็นอยู่ปกติของชุมชน ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ภายใต้การบริหารจัดการโดยคนในพื้นที่ ขับเคลื่อนกิจกรรมร่วมกับคนในพื้นที่อื่นๆ ผ่านกระบวนการจัดการความรู้อย่างเป็น ระบบ จึงจะเกิดพลังขับเคลื่อนทางสังคม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม อย่างเช่น กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณในชุมชนลดน้อยลง ผู้ป่วยแสดงตัวมากขึ้น ผู้ลักลอบผลิตย้ายจากชุมชน ลดภาระงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข องค์การบริหารส่วนตำบล เห็นความสำคัญจัดสรรงบดำเนินการ หากแต่ต้องอาศัยระยะเวลาและการวางแผน ติดตามเป็นระยะ

12 ทำอย่างไรชุมชนจึงจะเข้มแข็งและยั่งยืน
เพิ่มคนที่มีความรู้ในชุมชนมากขึ้น ใช้พลังทางสังคมจัดการกับปัญหา ขยายพื้นที่ในการเฝ้าระวัง การรณรงค์อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการพัฒนาทักษะการทำงานร่วมระหว่างกันเครือข่าย เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน โดยสนับสนุนอาวุธ/เครื่องมือ:ชุดตรวจสอบ งบประมาณ ความรู้ เพื่อยกระดับเป็นหน่วยแจ้งเตือนภัยเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับชุมชนและเฝ้าระวังตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สร้างระบบการรายงานข่าวสารเตือนภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพภาคประชาชนจากชุมชนสู่ชุมชน จังหวัดและประเทศ จัดระเบียบการจำหน่าย Derivery ตลาดนัด โดยมีฝ่ายปกครองร่วมมือ ผลักดันนโยบายสาธารณะ ให้อปท.ต้องมีบทบาทในการกำหนดมาตรการและควบคุมดูแลให้เกิดผลในทางปฏิบัติยิ่งขึ้น


ดาวน์โหลด ppt เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google