ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวัดผล (Measurement)
กระบวนการในการกำหนดคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการวัดในเชิงปริมาณ โดยผลการวัดจะแสดงออกในรูปจำนวนหรือตัวเลข
2
สิ่งที่ ต้องการวัด ผล การวัด
เครื่องมือ/วิธีการ ที่ยอมรับร่วมกัน สิ่งที่ ต้องการวัด ผล การวัด
3
ประเภทของการวัดผล การวัดผลด้านกายภาพ (Physical Measurement)
การวัดผลด้านจิตวิทยา (psychological Measurement)
4
การประเมินผล (Evaluation)
การตัดสินคุณค่าของสิ่งต่างๆ ซึ่งบางครั้งอาจพิจารณาจากผล ที่ได้จากการวัดเท่านั้น แต่ส่วนมากจะตัดสินคุณค่าของสิ่ง ต่างๆ ประกอบกับหลักฐานด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรวมถึง การใช้วิจารณญาณและความรู้สึกนึกคิดของผู้ประเมิน ประกอบในการตัดสินใจด้วย
5
ตัดสิน ข้อมูลจากการวัด เกณฑ์/มาตรฐาน ผลการประเมิน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ปรับปรุง
6
ประเภทของการประเมินผล
การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion - Referenced Evaluation) การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm -Referenced Evaluation) การประเมินผลแบบอิงตนเอง (Self - Referenced Evaluation)
7
จุดมุ่งหมายของการประเมินผลการศึกษา
1. เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียน 2. เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 3. เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน 4. เพื่อวินิจฉัย 5. เพื่อตัดสินผลการเรียน
8
จุดมุ่งหมายของการประเมินผลการศึกษา
6. เพื่อจัดตำแหน่ง 7. เพื่อตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน 8. เพื่อพยากรณ์
9
ปรัชญาของการวัดและประเมินผลการศึกษา
“Evaluation is not to prove, but to improve”
10
หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา
1. การวัดและประเมินผลต้องตรงกับจุดมุ่งหมาย 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลต้องมีคุณภาพ 3. การวัดและประเมินผลต้องคำนึงถึงความยุติธรรม 4. การแปลผลของการวัดและประเมินผลต้องถูกต้อง 5. ต้องใช้ผลการวัดและประเมินผลให้คุ้มค่า
11
ธรรมชาติของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดเชิงสัมพัทธ์ การวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นกระบวนการที่มีความคลาดเคลื่อน
12
ขั้นตอนการวัดและประเมินผล
การกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนรู้ ในด้านที่จะมุ่งวัด การกำหนดวิธีการวัดผล การเลือก/สร้างเครื่องมือการวัดผล การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การบริหารการวัดผล การตัดสินค่าจากผลการวัด การให้ผลป้อนกลับจากการวัดและประเมินผล
13
ประโยชน์ของการวัดและประเมินผลการศึกษา
ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครอง งานแนะแนว การบริหารการศึกษา การวิจัยการศึกษา
14
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
มาตรา 22 : การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ และ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
15
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
มาตรา 28 : หลักสูตรการศึกษาต้องมีลักษณะหลากหลาย สาระของหลักสูตรต้องมุ่งพัฒนาคน ให้มีความสามารถ มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
16
มาตรา 24 : จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา ทุกสถานที่โดยประสานความร่วมมือกับฝ่ายต่างๆ
17
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
มาตรา 26 : สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก พัฒนาการ ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน
18
หลักสูตร เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ (O) การเรียนการสอน (L)
การประเมินผล (E)
19
ความหมายของคำในกระบวนการจัดการศึกษา
- หลักสูตร - วัตถุประสงค์ - การจัดการเรียนการสอน - การประเมินผล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.