ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การอ่านตามแนว PISA โดย วิไลวรรณ ชูรัตน์
2
คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ของประเทศสมาชิกองค์กร
PISA คืออะไร PISA มาจากคำว่า Programme for International Student Assessment คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ของประเทศสมาชิกองค์กร เพื่อ ความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ ดำเนินการโดย OECD ( Organization for Economic Co-operation and Development )
3
ความเป็นมา ของ PISA เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 1999 ( พ.ศ. 2541 )
เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี ( พ.ศ ) มีประเทศเข้าร่วมโครงการ ประเทศ ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการเมื่อ ปี 2543 ประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วม มี เกาหลี จีน-ฮ่องกง จีน-ไทเป ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย ปี เพิ่ม มาเลเซีย เวียดนาม * ในปี จะเป็นการประเมินครั้งที่ โดยจะทำการประเมินในเดือนสิงหาคม นี้
4
จุดประสงค์ของการประเมิน
เพื่อ หาตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ ประเมินศักยภาพของนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ในการใช้ความรู้ ทักษะจำเป็น เพื่อเผชิญกับโลกในชีวิตจริง โดย ทำการประเมินต่อเนื่องทุกๆ ปี
5
ผู้รับการประเมิน / ผู้เกี่ยวข้อง
ผู้รับการประเมิน / ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับการประเมินคือ นักเรียนในระดับชั้น ม. 3, ม.4 ที่มีอายุ 15 ปี จาก โรงเรียนในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โรงเรียนในสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนในสังกัดสำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย วิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
6
ประเมินอะไรบ้าง 1. ด้านการอ่าน ( Reading Literacy )
ทำการประเมินสมรรถนะ 3 ด้าน คือ 1. ด้านการอ่าน ( Reading Literacy ) 2. ด้านคณิตศาสตร์ ( Mathematic Literacy ) 3. ด้านวิทยาศาสตร์ ( Scientific Literacy) การประเมินแต่ละระยะเน้นหนักดังนี้ ระยะที่ 1 ( pisa /2009 ) เน้นการอ่าน 60% วิทยาศาสตร์ 20 % คณิตศาสตร์ 20% ระยะที่ 2 ( pisa 2003 / 2012 )เน้นคณิตศาสตร์ 60%วิทยาศาสตร์ 20% การอ่าน 20% ระยะที่ 3 ( pisa / 2015) เน้น วิทยาศาสตร์ 60% คณิตศาสตร์ 20% การอ่าน 20%
7
ลักษณะการประเมินของ PISA
ไม่ถามเนื้อหาสาระโดยตรงตามหลักสูตร เน้นวัดสมรรถนะ 3 ด้าน คือ ด้านการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์ และ ด้านวิทยาศาสตร์ เน้นการคิดวิเคราะห์ และหาคำอธิบาย มีทั้งรูปแบบเลือกตอบและแบบเขียนตอบ คำถามเป็นปลายเปิด ซึ่งนักเรียนต้องสะท้อนความคิดของตนออกมาเป็นคำตอบ การให้คะแนนขึ้นกับเหตุผลของการตอบ คำตอบต่างกัน อาจได้คะแนนเต็มเหมือนกันอยู่ที่เหตุผลที่สอดคล้อง คำอธิบายสมเหตุสมผล
8
การอ่านตามแนว PISA (Reading Literacy )
การอ่านเพื่อการเรียนรู้ตามแนว PISA มีความหมายมากกว่าการอ่านเพื่อเข้าใจความหมายของคำ ของข้อความ แต่เป็นการอ่านที่ การค้นสาระ ( Retrieving Information) เป็นความสามารถติดตามความหมายที่สกัดเอาสาระ ของสิ่งที่อ่านออกมาได้ 2. การตีความ (Interpretation ) เป็นความเข้าใจข้อความที่ได้อ่าน สามารถตีความ แปลความสิ่งที่อ่านได้ คิดวิเคราะห์เนื้อหาและรูปแบบของข้อความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆในชีวิตจริงและในโลก 3. การวิเคราะห์ (Reflection and Evaluation ) เป็นความเข้าใจข้อความที่อ่าน สามารถตีความแปลความ วิเคราะห์เนื้อหาสิ่งที่อ่านแล้วประเมินข้อความที่อ่าน แสดงความคิดเห็น โต้แย้งได้ด้วยความคิดตนเอง
9
รูปแบบข้อสอบการอ่าน เป็นการอ่านข้อความแบบต่อเนื่อง
จำแนกข้อความแบบต่างๆกัน เช่น การบอกเล่า การพรรณนา การโต้แย้ง อ่านรายการ กราฟ แผนภูมิ แบบฟอร์ม ตาราง เนื้อหายึดสิ่งที่พบเห็นในโรงเรียน ในสังคม ในโลก ซึ่งต้องใช้ในชีวิตจริงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ แบบทดสอบ แบ่งเป็นชุดเล็กๆ ทุกชุดมีความยากง่ายเท่ากัน นักเรียนแต่ละคนจะได้ทำข้อสอบประมาณ ข้อ กำหนดเวลา 2 ชั่วโมง ( ข้อสอบมี ข้อความ ใช้เวลารวม 7 ชั่วโมง )
10
ผลการประเมิน ปี 2552 ผลการประเมินการอ่าน
ผลการประเมิน ปี 2552 ผลการประเมินการอ่าน จีน ได้คะแนนเฉลี่ย คะแนน เกาหลี ฟินแลนด์ รองลงมา ฮ่องกง ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ติดอันดับ 1 ใน 10 ไทย เฉลี่ย ลำดับในกลุ่ม จาก 65 ประเทศ ผลการประเมินคณิตศาสตร์ จีน คะแนนเฉลี่ย รองลงมา สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลี ญี่ปุ่น ใน 10 ไทย เฉลี่ย คะแนน อยู่ในกลุ่ม จาก 65 ประเทศ ผลการประเมินวิทยาศาสตร์ ไทย คะแนนเฉลี่ย คะแนน อยู่ในกลุ่ม จาก 65 ประเทศ
11
นี่คือนาฬิกาปลุกให้ครูไทยจงตื่นเถิด
ผลการวิจัยของ สสวท. ผลการวิจัยของ สสวท. พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การเรียนรู้ของนักเรียนไทย การขาดแคลนครูทุกวิชา การกวดวิชานอกโรงเรียนไม่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน การใช้ ICT ที่ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ มีใช้มากแต่ไม่เป็นประโยชน์ต่อการเรียน การมีทรัพยากรที่มีคุณภาพ มีผลต่อคะแนนที่สูงขึ้น เช่น ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนคณิตศาสตร์ ห้องเรียนภาษา ห้องสมุด ครูมีความพร้อม ส่งผลให้นักเรียนมีคะแนนสูง ขาดการสนับสนุนกลุ่มโรงเรียนที่อ่อนแอ ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศ นี่คือนาฬิกาปลุกให้ครูไทยจงตื่นเถิด
12
การกำหนดเกณฑ์การประเมินการอ่าน PISA
สมรรถนะค้นสาระ ( Retrieving information ) - ค้นหาหรือสรุปสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่าน กลยุทธ์การเข้าถึงและค้นคืนสาระ ( Access and retrieve ) - สามารถดึงสาระสิ่งที่ได้อ่านออกมา สามารถตอบคำถามด้วยการเลือกตอบ หรือเขียนข้อความ เลือกตอบได้อย่างถูกต้อง หรือเขียนข้อความได้ครบถ้วนตรงตามสาระ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.