ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRatchanichon Wattanasin ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ระบบดี TB ห่างไกล งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
2
วัณโรค วัณโรค เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่มีหลักฐาน ทางวิทยาศาสตร์ ยืนยันว่า เป็นสาเหตุการเสียชีวิตสำคัญของบรรพบุรุษของเรามากกว่า หกพันปี
3
วัณโรค เกิดจากเชื้อ Mycobacterium Tuberculosis ติดต่อผ่านทางอากาศ (Airborne) เชื้อเข้าร่างกายแล้วจะฝังตัวที่เนื้อปอด แบ่งตัว แล้วไปตามกระแสน้ำเหลืองที่ขั้วปอด เข้าสู่ กระแสเลือด
4
ความชุกของวัณโรค ความชุกของผู้ป่วยวัณโรคทั่วโลกคือ ๑๔.๔ ล้านคน (๒๑๙ ต่อแสนประชากร) โดยเป็นผู้ป่วยใหม่ ๙.๑๕ ล้านคน หรือ ๑๓๙ ต่อแสนประชากร ในจำนวนนี้มี ๑.๖๖ ล้านคนเสียชีวิต ประเทศไทย มีผู้ป่วยวัณโรคเป็น อันดับ ๑๘ ของโลก โดยมีผู้ป่วย ๑๒๕,ooo รายคิดเป็น ๑๙๗ ต่อประชากรแสนคน และมีผู้ป่วยเสียชีวิต ๑๓,ooo ราย คิดเป็น ๒o ต่อประชากรแสนคน
5
การแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล
จากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วยอื่น จากผู้ป่วยสู่บุคลากร จากบุคลากรสู่ผู้ร่วมงาน
6
สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค ในโรงพยาบาล
วินิจฉัยโรคช้า ได้ผลการตรวจเสมหะช้า การแยกผู้ป่วยไม่ได้มาตรฐาน ไม่ได้ใช้ PPE ขณะทำหัตถการ
7
มาตรการป้องกันและควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ
ค้นหาผู้ป่วยระยะแพร่เชื้อ จัดห้องแยกให้เหมาะสม ให้ยาที่ถูกต้องเหมาะสมและรวดเร็ว ควบคุมสิ่งแวดล้อม โดยการจัดสถานที่ให้มีแสงส่องถึง ใช้ PPE เพื่อป้องกันบุคลากร คัดกรองบุคลากร ที่ได้รับเชื้อแล้ว
8
การดำเนินการ * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด
* จัดระบบ fast track * แต่งตั้งคณะทำงาน * กำหนดตัวชี้วัดเฉพาะจุด * ผลักดันให้ระบบทำงานได้
9
การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น
ระบบ fast track เดิม ระบบใหม่ ไม่มีการคัดกรองผู้ป่วย ทำให้มีผู้ป่วย วัณโรคปะปนอยู่หน้าหน้าห้องตรวจ (โอกาสแพร่กระจายเชื้อสูง) - คัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง (ซักประวัติ ไอมากกว่า 2 สัปดาห์ ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด) - ให้ผู้ป่วยสวม mask ได้เร็วขึ้น (ลดการแพร่กระจายเชื้อ) - ส่งเอกซเรย์ได้เลย (ไม่ต้องรอแพทย์สั่งลดขั้นตอนและระยะเวลาแพร่เชื้อ) - พบแพทย์ได้ทันที (ลดโอกาสแพร่เชื้อ) เพื่อค้นหาผู้ป่วย ส่งเสริมให้มี การวินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น
10
ระบบ fast track (ต่อ) เดิม ระบบใหม่ เก็บเสมหะตอนเช้าเท่านั้น (รอเก็บวันถัดไป) ทำให้ผลออกช้าผู้ป่วยนอนรวมในสามัญ - เก็บเสมหะส่งตรวจทันที ( เวลาใดก็ได้ เก็บ 3 ครั้ง ใน 2 วัน) - ส่ง Sputum AFB ได้จนถึงเวลา น. สามารถตรวจและออกผลได้ภายใน 2 ชั่วโมง - กรณีด่วน สามารถส่งตรวจเวรดึกได้ การตรวจเสมหะล่าช้า
11
ระบบ fast track (ต่อ) - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก
เดิม ระบบใหม่ รอผลตรวจเสมหะนาน ทำให้เข้าห้องแยกช้า - มีเกณฑ์ในการเข้า - ออกห้องแยก - จัดระบบห้องแยก ให้มีทุกหอผู้ป่วย การแยกไม่ได้มาตรฐาน
12
Guide line fast track TB
ผู้ป่วยมีอาการ URI ให้สวม mask จุดคัดกรองหน้าห้องบัตร ผู้ป่วยไอ >2 wks ค้นหากลุ่มเสี่ยง เข้า fast track ห้องตรวจอายุรกรรม เบาหวาน,ต่างด้าว ไข้เรื้อรัง น้ำหนักลด CXR พบแพทย์ห้องตรวจ 4 ประเมินอาการ อาการแสดง CXR สั่งยา ส่ง AFB ,สั่งยา ห้องยา - เก็บเสมหะ - Lab ตรวจ AFB - เภสัช จ่ายยา TB clinic
13
ผลการดำเนินงาน (เริ่ม fast track TB เดือนมิถุนายน 54)
14
ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม.
ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด: OPD ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ.< 3 ชม. เป้าหมาย > 80% ข้อมูล มิ.ย. 54 – มี.ค. 55 จำนวนผู้ป่วยเข้า fast track TB 42 ราย เป็นวัณโรคแบบเสมหะพบเชื้อ 19 ราย ผู้ป่วยเสมหะพบเชื้ออยู่ในรพ. < 3 ชม. ระยะเวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วยอยู่ในรพ. 2 ชม. 30 นาที การคัดกรอง ลดการแพร่เชื้อ
15
แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน
ที่ผู้ป่วยอยู่ใน ER < 30 นาที แผนภูมิแสดงระยะเวลาผู้ป่วยวัณโรค AFB positive อยู่ในห้องฉุกเฉิน
16
ตัวชี้วัดที่ IPD ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน เป้าหมาย
ผู้ป่วย AFB + ve เข้าห้องแยกภายใน 48 ชั่วโมง > 80 % ตัวชี้วัดกระบวนการ ได้รับผล AFB ภายในวันที่ส่งตรวจ ผู้ป่วยเข้าห้องแยกภายในวันที่ทราบผล AFB + ve
17
แผนภูมิแสดงระยะเวลาตั้งแต่มีorder-ได้รับผลตรวจAFB (ก่อนและหลัง fast track TB ปี2554)
หน่วย:ร้อยละ
18
แผนภูมิแสดงวันที่ผู้ป่วยวัณโรค AFB positive ได้เข้าห้องแยก
หน่วย:ร้อยละ
19
ตัวชี้วัดผลลัพธ์การดำเนินงาน
OPD ได้ 100 % (19 ราย) ระยะเวลาที่ผู้ป่วยนอก AFB +ve อยู่ในรพ.< 3 ชม > 80% ER ได้ 0 % ระยะเวลาที่ผู้ป่วยใน AFB +ve ผ่าน ER < 30 นาที > 80% IPD ได้ % (6 ราย) ผู้ป่วย AFB +ve ได้เข้าห้องแยกภายใน 48 ชม.หลัง admit > 80%
20
Fast track TB การเข้าห้องแยกภายใน 48 ชม. ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย มีร้อยละ 36 ที่ได้เข้าห้องแยกหลัง admit 2 วัน ทั้งนี้เนื่องจาก... ปัญหาห้องแยกไม่เพียงพอ และ การบริหารจัดการเข้าห้องแยก ไม่ได้ตามตัวชี้วัด ซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการให้มีห้องแยกและมีระบบ การบริหารจัดการที่ดี
21
ข้อเสนอแนะ ศึกษาเฉพาะเจาะจงเรื่องการใช้ PPE ในการ ป้องกันวัณโรคโดยเฉพาะ เพื่อครอบคลุมถึง สาเหตุของการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคใน โรงพยาบาล
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.