ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSawatdi Supasawat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบายการพัฒนาระบบราชการและแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
นายยันยงค์ คำบรรลือ ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.ร. 4 มิถุนายน 2552
2
นายยันยงค์ คำบรรลือ ปัจจุบัน การศึกษา ตำแหน่งงานในอดีต
นายยันยงค์ คำบรรลือ ปัจจุบัน ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.ร. การศึกษา ปริญญาตรี - ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ วศ.ประสานมิตร - ทางกฎหมาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท - ทางรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ - “International Relation” Boston University (Oversea Program) Bonn Germany ตำแหน่งงานในอดีต - ที่ปรึกษาการศึกษา สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงบอนน์ เยอรมันนี - ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. - ผู้อำนวยการภารกิจการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. - ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.ร.
3
รัฐ ครอบครัว ชุมชน ชนเผ่า รัฐ/ประเทศ
4
ภารกิจของรัฐ (Function of State) ลำดับภารกิจ วิธีดำเนินการ องค์กร
ภารกิจพื้นฐาน (Negative Function of State) ภารกิจรอง (Positive Function of State) ป้องกัน/ยุติข้อพิพาท (ความเรียบร้อย/รักษาความปลอดภัย) การส่งเสริมสวัสดิภาพและกระจายความมั่นคง ของชาติและประชาชน ลำดับภารกิจ ความมั่นคง ภายใน ความมั่นคง ภายนอก ด้านสังคม วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ การยุติธรรม การปกครองท้องที่ การคลัง ฯลฯ การทหาร การต่างประเทศ ฯลฯ ศึกษา สาธารณสุข แรงงาน การพัฒนาชุมชน การดำรงชีพ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คมนาคม ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร ฯลฯ วิธีดำเนินการ กำหนดหลักเกณฑ์และควบคุมป้องกันความมั่นคงของประเทศ บังคับให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ โดยรัฐเป็นผู้ดำเนินการเอง (การใช้อำนาจปกครอง) ควบคุมหลักเกณฑ์/ส่งเสริมการจัดบริการ โดยทำเอง และให้เอกชนดำเนินการบางส่วน หรือร่วมกันทำ ราชการส่วนกลาง - ส่วนราชการ องค์กรของรัฐรูปแบบอื่น ราชการส่วนภูมิภาค -จังหวัด/อำเภอ ราชการส่วนท้องถิ่น - องค์กรบริหารส่วนจังหวัด/ ส่วนตำบล / องค์กรของรัฐรูปแบบอื่น องค์กร ราชการส่วนกลาง - ส่วนราชการ
5
ภารกิจของรัฐ * (Function of State)
ผู้พิทักษ์ (Protector) ผู้จัดหา (Provider) ผู้ควบคุมเศรษฐกิจ (Regulator) ผู้ประกอบการทางเศรษฐกิจ (Entrepreneur) อนุญาโตตุลาการ (Umpire Arbitrator) ลักษณะภารกิจ ป้องกันความมั่นคงของ ประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อยายใน ประเทศ หาบริการและสวัสดิการ ขั้นต่ำให้ประชาชน (รัฐสวัสดิการ) ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของประชาชน การประกอบการ ในทางเศรษฐกิจของภาครัฐ การคานประโยชน์และตัดสินปัญหาข้อโต้แย้งระหว่างกลุ่มชนต่าง ๆ ในสังคม ควบคุมธุรกิจเอกชนให้ ปฏิบัติตามกฎหมาย ส่งเสริมช่วยเหลือธุรกิจ เอกชน การบังคับเอกชนให้ข้ออนุญาตก่อนดำเนินการในบางเรื่อง ลักษณะงาน กิจการกลาโหม กิจการมหาดไทย การต่างประเทศ กิจการคลัง กิจการสาธารณสุข กิจการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ กิจการจัดหางาน การพาณิชย์ กิจการธนาคาร กิจการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำ กิจการรัฐวิสาหกิจ กิจการยุติธรรม กิจการมหาดไทย องค์กร ส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนกลาง ส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค * ศาสตราจารย์ W. Friedman ชาวเยอรมัน
6
ประเทศไทย ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของกระแสโลก ประเทศไทยจะมีแนวทางและรูปแบบเสริมสร้างขีดความสามารถให้รองรับและใช้ประโยชน์จากผลการเปลี่ยนแปลงให้ได้ประโยชน์อย่างไร ?
7
อุบัติการในโลก เสรีทุน แรงงาน ความรู้ สินค้าและบริการ วิกฤติพลังงาน
ปัญหาสิ่งแวดล้อม อาหารที่ราคาสูงขึ้น ฯลฯ
8
ผลกระทบต่อประเทศไทย เศรษฐกิจ ส่งออกได้น้อย/คู่ค้ามีปัญหา
เกษตรผลผลิตดีแต่ไม่มีอำนาจต่อรอง การค้าบริการ มีจิตวิญญาณนักบริการ แต่ประเภทใช้เทคโนโลยียังด้อย
9
ผลกระทบต่อประเทศไทย สังคม การใช้ความรู้อยู่ในระดับต่ำ
คุณภาพการศึกษาด้อย จากภาวะเศรษฐกิจ กระทบคุณภาพชีวิต/ ยากจน/ว่างงาน ค่านิยม/วัฒนธรรมเสื่อม สู่สังคมสูงอายุ/เผชิญโรคที่ควบคุมได้/โรค อุบัติใหม่หรือซ้ำ
10
ผลกระทบต่อประเทศไทย ด้านการเมืองการปกครอง
ขัดแย้งทางความคิด ส่งผลต่อภัยสงคราม ก่อ การร้าย ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฯลฯ รัฐธรรมนูญฯ 2550 ให้สิทธิการตรวจสอบ การใช้อำนาจรัฐ องค์กรอิสระเข้มแข็ง ขยาย การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร บ้านเมือง แต่ยังมีปัญหาการนำไปปฏิบัติ
11
ผลกระทบต่อประเทศไทย ด้านจัดการความรู้ สารสนเทศ และ เทคโนโลยี
ด้านจัดการความรู้ สารสนเทศ และ เทคโนโลยี หน่วยงานภาครัฐยังไม่บรรลุการ ผลักดันให้เทคโนโลยีอยู่ในระดับ พร้อมใช้
12
การพัฒนาระบบราชการไทยช่วงที่ผ่านมา
ปี 2545 ปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหาร ภาครัฐและโครงสร้างส่วนราชการ นำไปสู่แก้ไขกฎหมายการบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารภาครัฐแนวใหม่ 20 กรทรวง
18
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ ) ค.ร.ม.มีมติเห็นชอบ เมื่อ 29 กรกฎาคม 2551 ยึดแนวทางของการให้ประชาชนเป็น ”ศูนย์กลาง” ในการ ทำงาน ปรับเปลี่ยนบทบาทของระบบราชการให้เป็นผู้สนับสนุนและ อำนวยความสะดวก ประสานการทำงานกับผู้บริหารราชการแผ่นดินฝ่ายการเมือง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ
19
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ ) มีความพร้อมและทัศนคติในการทำงานเป็นเครือข่ายร่วมมือ กับภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม มุ่งสู่ความเป็นเลิศ ทำงานเชิงรุก มองไปข้างหน้า สามารถ คิดริเริ่มและสร้างนวัตกรรม มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถตรวจสอบวัดผลสัมฤทธิ์ได้ มีระบบกำกับดูแลตนเองที่ดี และตั้งมั่นอยู่ในศักดิ์ศรีและ ความดีงาม
20
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2551-2555)
ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลาย และเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหา ความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การ ที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม และความสามารถ ในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ )
21
การพัฒนาระบบราชการไทยช่วงต่อไป
1:ตอบสนอง ฯ ยกระดับการให้บริการและการทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อน หลากหลาย และเปลี่ยนแปลง ไปอย่างรวดเร็ว ยกระดับคุณภาพการบริการ ยกระดับคุณภาพการบริการ ให้มีกลไกการรับฟังประชาชน/เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและบริการภาครัฐสะดวก
22
การพัฒนาระบบราชการไทยช่วงต่อไป
2:มีส่วนร่วม ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหา ความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการ(ส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่น ฯลฯ) จัดระบบบริหารให้เอื้อต่อการทำงานกันเป็นเครือข่ายกับเอกชน องค์กรชุมชน/ภาคส่วนอื่น ต่าง ๆ สนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารราชการโดยกระตุ้น สร้างระบบรูปแบบ มีคณะกรรมการภาคประชาชน หน่วยงานกลางร่วมมือกันอำนวยความสะดวกแก่ส่วนราชการ
23
การพัฒนาระบบราชการไทยช่วงต่อไป
3:เก่ง มุ่งสู่การเป็นองค์การ ที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อม และความสามารถ ในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ วางยุทธศาสตร์การบริหารประเทศในระยะยาว เสริมหน่วยงานรัฐให้ตอบสนองได้เร็ว ยืดหยุ่น คล่องตัว คิดริเริ่มทันต่อสถานการณ์ ยกระดับบุคลากรภาครัฐให้เป็นมืออาชีพ มีผลงาน และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับบทบาทภารกิจภาครัฐและโครงสร้างภาตรัฐให้เหมาะสม คุ้มค่า รบกับสภาพแวดล้อมการทำงานใหม่
24
การพัฒนาระบบราชการไทยช่วงต่อไป
4:ดี สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจ และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ระบบคุณธรรม จริยธรรม ปรับกระบวนทัศน์ หลอมวัฒธรรมใหม่ในหน่วยงานรัฐ เสริมหน่วยงานรัฐดำเนินการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมชุมชน สร้างดุลยภาพระหว่างการเมืองและประจำ ปรับระบบการตัดสินใจและระบบตรวจสอบในการบริหารราชการ
25
ภาวะอุบัติใหม่ในราชการช่วงต่อไป
คลื่นวิกฤติเศรษฐกิจโลก ถาโถมประเทศไทย งบประมาณรายจ่ายภาครัฐสูงขึ้น เงินค่าตอบแทนสวิสดิการ รายได้ภาครัฐภาครัฐลดลง ค่าใช้จ่ายในหน่วยราชการที่อาจลดลง
26
มาตรการเร่งด่วน:สัญญาณที่ต้องใส่ใจ
งานตามนโยบายมากขึ้น คลื่นวิกฤติเศรษฐกิจโลก ถาโถมประเทศไทย ความคาดหวังของประชาชนเพิ่มขึ้น ปรับหน่วยงานได้แต่ไม่เพิ่มค่าใช้จ่าย ปัญหา/งานที่ท้าทาย ประสิทธิภาพเพิ่ม/เงินไม่เพิ่ม
27
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.