ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTotsaken Phornprapha ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ก้าวต่อไป...ของการพัฒนามาตรฐานแรงงานไทย ในปี ๒๕๕๓
ดุสิต สระแก้ว กลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1
2
- คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการพัฒนามาตรฐานแรงงาน เพื่อส่งเสริมการค้าเสรี (๑๘ ธ.๕.๒๕๔๔)
- กระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานประกาศใช้ มาตรฐานแรงงานไทย ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย (๒๗ มิ.ย. ๒๕๔๖) ก้าวแรก ... มรท. 2 กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐาน แรงงาน
3
พัฒนาระบบ มรท. โดยการจ้างที่ปรึกษาเข้าดำเนินการ ใน สปก
พัฒนาระบบ มรท. โดยการจ้างที่ปรึกษาเข้าดำเนินการ ใน สปก. กลุ่มเป้าหมาย ปีงบประมาณ ๒๕๔๗ จำนวน ๓๐๐ แห่ง “ ๒๕๔๘ “ ๔๐๐ “ “ ๒๕๔๙ “ ๒๐๐ “ “ ๒๕๕๐ “ ๑๔๒ “ “ ๒๕๕๑ “ ๑๔๒ “ โดยมุ่งเน้นการเพิ่มโอกาสทางการค้ารองรับกระแส เขตการค้าเสรี (FTA : FREE TRADE AREA) ก้าวต่อมา ... มรท. 3 กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐาน แรงงาน
4
พัฒนาระบบ มรท. ใน สปก. กลุ่มเป้าหมาย ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ จำนวน ๑๓๐ แห่ง
พัฒนาข้อกำหนด มรท. - คณะทำงาน - ISO 9001 : SA 8000 : ISO 26000 ก้าวปัจจุบัน ... มรท. 4 กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐาน แรงงาน
5
ความรับผิดชอบต่อสังคม
มาตรฐานสากล ISO : ความรับผิดชอบต่อสังคม มีการบริหารจัดการองค์กรที่ดี (Organization Governance) ใส่ใจสิ่งแวดล้อม (Environment) ไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน (Human Right) ปฏิบัติต่อผู้ใช้แรงงานอย่างเป็นธรรม (Labour Practice) ดำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรม (Fair Operation Practice) ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค (Consumer Issues) ร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม (Community Involvement /Society Development)
6
มาตรฐานแรงงานไทย ระดับสมบูรณ์เท่านั้น
นิเทศงาน รณรงค์ส่งเสริม สัมมนาไตรภาคีฯมาตรฐานแรงงานแห่งชาติ จัดจ้างที่ปรึกษาดำเนินการ ติดตามการดำเนินงานของที่ปรึกษา สัมภาษณ์สถานประกอบกิจการตัวอย่าง วารสารฯ ฉบับพัฒนามาตรฐานแรงงาน มาตรฐานแรงงานไทย ระดับสมบูรณ์เท่านั้น กิจกรรม... 6 กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐาน แรงงาน
7
ก้าวต่อไป ... มรท. ประกาศใช้ มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ TLS 8001-2010
ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ประกาศใช้ มรท.๘๐๐๑-๒๕๕๓ TLS การพัฒนาระบบ มรท. โดยจ้างที่ปรึกษา เข้าดำเนินการใน สปก. ๑๓๐ แห่ง โดยมุ่งเน้นกระแสเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม CSR : CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY ก้าวต่อไป ... มรท. 7 กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐาน แรงงาน
8
องค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา
(OECD : Organization for Economic Cooperation and Development) ได้ออกแนวปฏิบัติสำหรับบรรษัทข้ามชาติ (OECD Guidelines for Multinational Enterprises) หรือที่เรียกว่า “OECD-Consensus” เน้นในเรื่อง CSR อย่างเข้มข้น มีการเสนอแนะให้บรรษัทข้ามชาติทำ CSR และให้ทำ ธุรกิจ กับคู่ค้าทั่วโลกเฉพาะที่มี CSR เท่านั้น ธุรกิจใดที่ไม่ทำ CSR จะส่งสินค้าไปขายให้บรรษัทข้ามชาติเหล่านี้ไม่ได้
9
สำนักงานสหประชาชาติ (UN)
ประกาศใช้บัญญัติ 9 ประการ สำหรับธุรกิจ “The UN Global Compact” July 1999 ประกอบด้วย 3 หมวด 9 ประการ
10
The UN Global Compact หมวดว่าด้วยสิทธิมนุษยชน : 1) สนับสนุนและเคารพหลักสิทธิมนุษยชนที่ประกาศในระดับสากล 2) ดูแลไม่ให้มีการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชนในธุรกิจของตน หมวดว่าด้วยมาตรฐานแรงงาน : 3) สนับสนุนเสรีภาพในการรวมกลุ่มของแรงงาน และยอมรับอย่างจริงจังต่อสิทธิในการเจรจาต่อรองของแรงงาน ที่รวมกลุ่ม
11
หมวดว่าด้วยมาตรฐานแรงงาน : 4) ขจัดทุกรูปแบบของการบังคับใช้แรงงาน
5) ยกเลิกการใช้แรงงานเด็กอย่างเป็นผล 6) ขจัดการเลือกปฏิบัติในการว่าจ้างแรงงานและอาชีพ หมวดกำกับสิ่งแวดล้อม : ) สนับสนุนการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม 8) จัดทำกิจกรรมที่มีส่วนส่งเสริมให้มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น 9) ส่งเสริมการพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หัวข้อที่เพิ่มขึ้นภายหลัง : ) ต่อต้านการทุจริต (Corruption)
12
http://tls.labour.go.th สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
กลุ่มงานพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงาน ชั้น ๑๓ สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน โทรศัพท์/โทรสาร : ๐ ๒๒๔๕ ๗๑๗๕ , ๐ ๒๒๔๕ ๗๒๑๑ , ๐ ๒๒๔๖ ๘๓๗๐ , ๐ ๒๒๔๖ ๘๒๙๔
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.