ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ภาพรวมของอุตสาหกรรม โทรคมนาคมไทย และ แนวทางในการส่งเสริม อุตสาหกรรมโทรคมนาคม นายกุลิศ สมบัติศิริ รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 10 กุมภาพันธ์ 2548
2
หัวข้อการบรรยาย การพัฒนาด้านโทรคมนาคมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา
แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโลก แนวทางในการส่งเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม
3
40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท
การลงทุนด้านโทรคมนาคม 40 ปี ที่ผ่านมารัฐวิสาหกิจลงทุน รวม 2.52 ล้านล้านบาท เป็นการลงทุนด้านโทรคมนาคมประมาณ 0.24 ล้านล้านบาท (9%)
4
Fixed Mobile Substitution
จำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (2536 – 2548) ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพิ่มขึ้นจาก0.41 ล้านราย ในปี 2535 เป็น ล้านราย ในปี 2548 ขยายตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2544 – 2545 ถึงกว่า 100% ? Fixed Mobile Substitution ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่ เพิ่มจาก 2.21 ล้านราย ในปี 2536 เป็น 7.02 ล้านราย ในปี 2548 ตลาดเริ่มอิ่มตัว
5
จำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่ต่อประชากร
มีความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการโทรศัพท์ประจำที่ของเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาคถึง 6.7 เท่า ในปี 2547
6
รายได้ต่อเลขหมายต่อเดือน
โทรศัพท์ประจำที่ ลดลงเล็กน้อย 666 บาท บาท โทรศัพท์เคลื่อนที่ ลดลงอย่างเห็นได้ชัด 876 บาท บาท
7
จำนวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต
8
การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่
9
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
10
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
Total Expenditure on R&D (% of GDP) (2002)
11
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
12
สถานะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย (IMD)
ดุลการชำระเงินด้านเทคโนโลยี (% of GDP) (2542)
13
สรุปผลการพัฒนาที่ผ่านมา
ผู้บริโภคนิยมใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนอาจทดแทนบริการโทรศัพท์ประจำที่ได้ในอนาคต (Fixed Mobile Substitution) มีการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรงในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่งผลให้ ARPU ลดลงอย่างต่อเนื่อง บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงได้รับความนิยมและขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ยังคงมีความเหลื่อมล้ำของการเข้าถึงบริการโทรคมนาคมระหว่างเขตนครหลวงกับเขตภูมิภาค (Digital Divide) ขาดดุลการชำระเงินด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่จะขาดดุลเพิ่มมากขึ้น
14
แนวโน้มอุตสาหกรรม โทรคมนาคมโลก
15
แนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโลก
ปี 2546 1 ล้านล้านดอลลาร์ ปี 2551 1.35 ล้านล้านดอลลาร์
16
โทรศัพท์ประจำที่ จำนวนผู้ใช้บริการและ ARPU มีแนวโน้มลดลง
ผู้บริโภคจะใช้มือถือ และVoIP แทนโทรศัพท์ประจำที่มากขึ้น
17
โทรศัพท์เคลื่อนที่ จะมีการแข่งขันกันมากขึ้น
แม้ว่าจะมีผู้ใช้เพิ่มขึ้นแต่ ARPU ลดลง (Prepaid) มีการใช้บริการ Data (Mobile Internet) มากขึ้น (3G) MVNOs จะมีมากขึ้นใน หลายภูมิภาคของโลก WiMAX อาจยังมีข้อจำกัด ทางเทคนิคในการให้บริการ
18
แนวโน้มอุตสาหกรรม ของ ประเทศไทย
19
โทรศัพท์ประจำที่ คาดว่าจะมีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์ประจำที่เพิ่มขึ้นจาก 6.85 ล้านเลขหมาย ในปี 2544 เป็น 7.24 ล้านเลขหมาย ในปี 2551 เพิ่มขึ้น 2.4% ต่อปี
20
ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลาดเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว Prepaid ARPU ปี 2548 ล้านเลขหมาย ปี 2552 ล้านเลขหมาย
21
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (รายได้บริการเสียงและข้อมูล)
Data Revenue Growth 102% per annual
22
อินเทอร์เน็ต
23
สรุปแนวโน้มอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์ประจำที่และโทรศัพท์เคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ในขณะที่ FMS จะมีมากขึ้น ARPU จะลดลงต่อเนื่อง เพราะการแข่งขันด้านราคาในตลาดโทรศัพท์มือถือยังคงมีต่อเนื่อง และอาจรุนแรงมากขึ้น จากการลงทุน 3G ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จะใช้บริการข้อมูลมากขึ้น ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอ้ตราเฉลี่ยสูงกว่า 20%
24
แนวทางและเป้าหมายการพัฒนาตามแผนแม่บทฯ
กลไกความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ มีมาตรฐานและลักษณะ พึงประสงค์ทางเทคนิค ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม มีหลักเกณฑ์การบริหารกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคม ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นหน่วย ตรวจสอบและรับรอง มาตรฐานอุปกรณ์ มีต้นแบบอุปกรณ์และเทคโนโลยี โทรคมนาคม มีหน่วยตรวจสอบมาตรฐานฯ ภาคเอกชน ส่งเสริมการจัดทำมาตรฐาน และลักษณะพึงประสงค์ ทางเทคนิคของอุปกรณ์
25
การเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ภายหลังจากมีแผนแม่บทฯ
สัญญลักษณ์การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ (การแข่งขันอย่างเสรีเป็นธรรมในระบบ) ความพร้อมใน การรองรับ แรงผลักดันจาก เวทีโลกและ FTA เปลี่ยนวิธี การทำงาน การพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคมในยุคการค้าเสรี ระบบอุตสาหกรรม การกำกับดูแลที่ดี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างราคาที่เป็นธรรม (Good Governance) (HRD) (Cost Structures)
26
ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ประเมิน สถานะปัจจุบัน กำหนด วิสัยทัศน์ เป้าหมาย การพัฒนา Product Champion แนวทาง ดำเนินงาน ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง บุคลากร ภาครัฐ องค์กร กำกับดูแล (กทช.) สถาบันวิชาการ/ การศึกษา NGOs ผู้ให้บริการ ผู้ผลิตอุปกรณ์ มุ่งเน้นการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคม และพัฒนาศักยภาพเพิ่ม ขีดความสามารถบุคลากรโทรคมนาคม รวมทั้งสร้างความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และต่างประเทศ โดยใช้กลไกกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคมฯ และมาตรการจูงใจ ทั้งในรูปของตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.