ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTuk Pichit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 1
2
สถานการณ์ 1. โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ - ประชากรประเทศไทย 64.5 ล้านคน - จำนวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 9.4 ล้านคน (ร้อยละ 14.57) - จำนวนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เท่ากับ 6.3 ล้านคน (ร้อยละ 9.77)
3
สถานการณ์ 2. สุขภาพของผู้สูงอายุ
2.1 อุบัติการณ์โรคหรืออาการเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุไทย โดยการตรวจร่างกาย 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มอาการเมตาบอลิค โรคอ้วนลงพุง ภาวะอ้วน และโรคข้อเสื่อม ตามลำดับ 2.2 สำหรับประชากรไทยกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป พบว่า โรคที่ทำให้ ผู้สูงอายุสูญเสีย ปีสุขภาวะ 5 อันดับแรก ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ในผู้ชาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวาน และโรคมะเร็งตับ ส่วนเพศหญิง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า ตามลำดับ
4
สถานการณ์ 3. ด้านสังคม อัตราการพึ่งพิงของประชากรสูงอายุต่อคนวัยทำงานของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2543 เท่ากับ 14.3 และโดยการคาดการณ์พบว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็น 17.6 ในปี พ.ศ.2553 และ 24.6 ใน ปี พ.ศ.2563
5
สถานการณ์ 4. ความสามารถในการดูแล - มีผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้ ร้อยละ ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองได้บางส่วน ร้อยละ ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองไม่ได้เลย ร้อยละ 0.9
6
ปัญหาการบริการสุขภาพผู้สูงอายุ
ใช้งบประมาณสูงขึ้น (๒ – ๕ เท่าของวัยทำงาน) เจ็บป่วยมากขึ้น: มีความจำเป็นต้องได้รับบริการสุขภาพมากขึ้น เป็นโรคที่ต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง โดยเฉพาะในปีใกล้ถึงแก่กรรม การเข้าถึงบริการสุขภาพลำบากขึ้น มีค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ การบริบาลระยะยาว (long term care) ยังไม่พัฒนาเป็นระบบ ความสามารถในการจ่ายต่ำลง
7
Flag ship วัยสูงอายุ: เป้าประสงค์
1.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพ ที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และการคัดกรอง Geriatric Syndrome 2.มีระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพและสามารถเข้าถึง ได้อย่างสะดวกและทั่วถึง 3.มีระบบการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ
8
การส่งเสริมสุขภาพ/การดูแลรักษา
รพท./รพศ การส่งเสริมสุขภาพ/การดูแลรักษา รับการส่งต่อ การประเมินเฉพาะทาง ดูแลรักษา HHC รพช. ชุมชน/ท้องถิ่น ศูนย์ข้อมูล (Data Center) การคัดกรอง/ประเมิน ยืนยัน การดูแลเบื้องต้น/พัฒนาทักษะกายใจ/ -ส่งต่อรักษา/ดูแลครบวงจรที่ รพศ/รพท. การประเมิน/คัดกรอง เบื้องต้น (Non-Skills) การประเมิน/คัดกรองโดยเจ้าหน้าที่ (Basic Skills) รวบรวมข้อมูลผลการคัดกรองส่งไปยังศูนย์ข้อมูลที่ รพช. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Long Term Care ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Manager) -พัฒนาบุคลากร -สนับสนุนคู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน
9
โครงการระดับจังหวัด 1. ประชุมปฏิบัติการ อำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว
: อ.รัตภูมิ อ.นาหม่อม 2. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในการเฝ้าระวัง โรคสมองเสื่อม 3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้สูงอายุ 4. ประกวดตำบลต้นแบบ LTC
10
โครงการระดับจังหวัด 5. ประกวดชมรมผู้สูงอายุดีเด่นส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
6. ประกวดผู้สูงอายุฟันดี 3 กลุ่มอายุ : ปี / ปี / 90 ปีขึ้นไป 7. ติดตามการดำเนินงาน / ความพึงพอใจผู้สูงอายุ ใส่ฟันเทียมพระราชทาน
11
ตัวชี้วัด 1. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ไม่เกินร้อยละ 12
1. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ไม่เกินร้อยละ 12 2. ผู้สูงอายุในกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะกาย ใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25
12
ตัวชี้วัด 4. จำนวนอำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอ
สุขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ว อย่างน้อย 1 จังหวัด 1 อำเภอ 5. ผู้สูงอายุมีมาตรฐานสุขภาพที่พึงประสงค์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 6. รพศ. รพท. มีคลินิกผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ 7. รพช. มีคลินิกผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ ร้อยละ 30
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.