ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Non-Agricultural Market Access: NAMA
Department of Trade Negotiations, Ministry of Commerce Non-Agricultural Market Access: NAMA
2
Outline of Presentation
ปฏิญญารัฐมนตรีสมาชิก WTO (The Mandate) ประเด็นสำคัญในการเจรจา NAMA สถานะล่าสุดของการเจรจา กรอบเจรจาหลัก (core modality) อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (NTBs) การดำเนินการขั้นต่อไป Q & A
3
ปฏิญญารัฐมนตรีสมาชิก WTO ที่เมืองโดฮา ในส่วนที่เกี่ยวกับ NAMA
ให้มีการปฏิบัติที่เป็นพิเศษและแตกต่างกับประเทศกำลังพัฒนา (Special & Differential Treatment: S&D)
4
อุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี สินค้าที่ยังไม่ได้ผูกพัน
ประเด็นสำคัญในการเจรจา NAMA 1. Core Modality 2. Additional Elements 3. Exceptions สูตรการลดภาษี อุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี Preference Erosion สินค้าที่ยังไม่ได้ผูกพัน การลดภาษีรายสาขา Small, vulnerable ความยืดหยุ่น Newly Acceded LDCs
5
ภาษีสูงต้องลดลงในอัตราที่มากกว่าภาษีต่ำ ทำให้เกิดการลดภาษีมากกว่า
สูตรการลดภาษี : ค่า coefficient จำนวนกี่ค่า และระดับเท่าใด? Divergence: Implication: Issues: Swiss Formula: ภาษีสูงต้องลดลงในอัตราที่มากกว่าภาษีต่ำ ทำให้เกิดการลดภาษีมากกว่า Swiss 1. จะมีค่า coefficient จำนวนกี่ค่า? สูตรการลดภาษี 2. แต่ละค่า coefficient จะเท่ากับเท่าใด? Swiss (ABI) Formula: ใช้อัตราภาษีเฉลี่ยมาร่วมคำนวณ ประเทศที่มีโครงสร้างภาษีสูง จะได้เปรียบในการลดน้อยกว่า Swiss (ABI) T1 = Final Tariff To = Initial Tariff A = Coefficient B = Coefficient Ta = Tariff Average
6
ความแตกต่างระหว่างอัตราผูกพัน (bound rate) & อัตราเก็บจริง (applied rate)
Source: WTO Secretariat based on CTS for the bound rates and IDB and UNCTAD for the MFN applied rates. (*) Binding coverage could be overestimated due to partial bindings. See TN/MA/S/14.
7
เป้าหมายและจุดยืนของไทยในเรื่อง NAMA
ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่มีภาษีต่ำ (3-5%) ประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉลี่ยมีภาษีสูง (25-30%) ในปี 2551 ไทยจะปรับโครงสร้างภาษีทั้งหมดทำให้อัตราภาษีเฉลี่ยลดลงเหลือ 5.63% ไทย ประเด็น การลดภาษีภายใต้ FTA การปรับโครงสร้างภาษี อัตราภาษีเฉลี่ยเก็บจริง (ปี 2548) = 10.7% อัตราภาษีเฉลี่ยผูกพัน = 24.96% ไทยต้องการลดภาษีของประเทศกำลังพัฒนา!!
8
New rate after application of Swiss formula [15]
ผลกระทบสูตรการลดภาษีแบบ Swiss ต่อภาษีเก็บจริง (applied rate) Applied Rate Average rate % New rate after application of Swiss formula [15] Swiss formula (Note) - A simple method (i.e. applying formula to the average rate) is used to calculate the new average rates for approximation.
9
45% ร้อยละ 55 ของสินค้าอุตสาหกรรมไทยต้องประสบกับ ปัญหาภาษีสูงในตลาดสหรัฐฯ (Tariff Peaks) 55% of Thai industrial exports to the US face high tariffs Tariff are significantly higher than the US average of 3% for all products 100% = USD17.2 bn NOT EXHAUSTIVE Current tariff Percent Footwear 59.0 Knitted apparel 32.3 Woven apparel 28.8 Other textiles 21.2 Clock & watches 24.6 Canned seafoods 20.0 Electrical appliances 15.0 Gems & jewelry 13.5 Furniture 13.0 USD9.5 bn Wood products 10.7 Others n/a ภาษีเฉลี่ยของสหรัฐฯ = 3% Source: Ministry of Commerce, 2004
10
สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15 Bound Applied Swiss 15
11
สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15 Bound Applied Swiss 15
12
สูตรการลดภาษี : ผลของการลดภาษีด้วย Swiss formula ที่มีค่า coefficient เท่ากับ 15 Bound Applied Swiss 15
13
จะกำหนด base rate ในการลดภาษีของ unbound อย่างไร ??
การผูกพันสินค้า Unbound Items : อัตรา Unbound จะเริ่มลดภาษีจากอะไร ? ขั้นตอนการลดภาษี ประเด็น อัตราผูกพัน อัตรา Unbound จะกำหนด base rate ในการลดภาษีของ unbound อย่างไร ?? อัตราเก็บจริง Base rates สูตร Non-linear Mark-up Approach อัตราผูกพันใหม่
14
การกำหนดอัตรา mark-up สำหรับสินค้า unbound
Final Bound rate after the application of Non-linear Mark-up of [30] % point Non-linear Mark-up Approach Applied + Mark-up % point = Base Rate เช่น อัตรา applied ปี 2001 เท่ากับ 0% บวกกับ mark-up 30% point เท่ากับ base rate 30% เมื่อลดภาษีด้วยสูตร Swiss 15 จะเท่ากับ 10% Swiss Formula [15] อัตรา mark-up ขึ้นอยู่กับ ผลการเจรจา
15
ความสมดุลระหว่างความต้องการในการเปิดตลาดกับ ความอ่อนไหวของสินค้าบางรายการ
ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ รวมทั้งไทย มีความต้องการที่จะเปิดตลาดสินค้าของตนเองในตลาดต่างชาติ แต่มีความจำเป็นต้องปกป้องสินค้าอ่อนไหวบางรายการ Sensitivity Ambition การเจรจา NAMA เปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถมีความยืดหยุ่น (flexibility) ในการปกป้องสินค้าอ่อนไหวบางรายการได้ !?
16
จำนวนรายการสินค้าอ่อนไหวที่จะใช้ flexibility Retain some Unbound items
ความยืดหยุ่นสำหรับประเทศกำลังพัฒนา ประเด็นที่ต้องเจรจา ระยะเวลาการลดภาษี จำนวนรายการสินค้าอ่อนไหวที่จะใช้ flexibility Flexibility Implementation Longer Period Less than Formula Cut + OR Retain some Unbound items
17
แนวทางการเจรจาภายใต้ WTO
อุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff Barriers: NTBs) NTB คือมาตรการอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษี แต่มีผลการการจำกัดหรือกีดกันการนำเข้า (Non-Tariff Barriers mean measures other than tariffs which effectively prohibit or restrict import or export of products) – ASEAN Working Definition. แนวทางการเจรจาภายใต้ WTO 1. Request-Offer Basis 2. Vertical Approach 3. Horizontal Approach การเจรจาสองฝ่าย/กลุ่มย่อยเพื่อให้ประเทศที่ใช้มาตรการ NTB หาทางแก้ไข การเจรจากลุ่มย่อยตามสาขาสินค้าที่ประสบปัญหา NTBs เช่น สาขาสิ่งทอ อาหารทะเลแปรรูป ฯลฯ การเจรจากลุ่มย่อยตามรายมาตรการที่เป็นปัญหา NTBs เช่น มาตรการเก็บภาษีส่งออก (export tax)
18
อุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff Barriers: NTBs)
NOT EXHAUSTIVE สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อิเล็คทรอนิกส์ อาหารทะเลแปรรูป ยานยนต์และชิ้นส่วน Sectors Measures ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด/อุดหนุน นโยบายอุดหนุนภายในประเทศ Vertical พิธีการทางศุลกากร การตรวจสอบสินค้า Horizontal มาตรการสุขอนามัย อื่นๆ
19
ท่าทีของกลุ่มประเทศ ABI / NAMA11
การดำเนินการขั้นต่อไป... Feb 2008 Chair’s Revised Text สมาชิกเจรจาต่อโดยใช้ Chair’s Revised Text เป็นพื้นฐานในการเจรจา ความคืบหน้าการเจรจา ปฏิรูปภาคเกษตร ความเป็นไปได้ที่การเจรจาจะได้ ข้อสรุปภายในปี 2008 ท่าทีของกลุ่มประเทศ ABI / NAMA11 การเมืองสหรัฐฯ
20
QUESTIONS & ANSWERS
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.