งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารเวชภัณฑ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารเวชภัณฑ์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารเวชภัณฑ์

2 การบริหารเวชภัณฑ์ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา พ.ศ.2543 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2546 การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ พ.ศ.2542 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อยาของกระทรวงสาธารณสุข ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 9 กันยายน 2546

3 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535

4

5 ระเบียบพัสดุฯ วิธีซื้อและวิธีจ้าง
วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท และเป็นเฉพาะกรณีที่กำหนด วิธีกรณีพิเศษ ซื้อจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้ ผลิตพัสดุนั้นและนายกรัฐมนตรีอนุมัติให้ซื้อหรือ มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให้ซื้อ

6 ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 27 รายงานขอซื้อ
ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 27 รายงานขอซื้อ ต้องขออนุมัติซื้อก่อนดำเนินการจัดซื้อ การขออนุมัติซื้อต้องจัดทำรายงานเสนอดังนี้ 1) เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องซื้อ 2) รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อ 3) ราคามาตรฐานหรือราคากลางหรือราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุด 4) วงเงินที่จะซื้อหรือเงินที่ประมาณการ 5) กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น 6) วิธีที่จะซื้อ และเหตุผลที่ซื้อโดยวิธีนั้น 7) ข้อเสนออื่น ๆ

7 ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 60 การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์
ให้จัดซื้อยาตามชื่อสามัญใน ED สธ. ให้ใช้เงินงบประมาณซื้อยา ED ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

8 ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 61 และ 62 ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ถ้า GPO ผลิตต้องซื้อจาก GPO โดยราคายาต้องไม่สูงกว่าราคากลางเกิน 3% ยา ED และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่ GPO มิได้ผลิตแต่มีจำหน่าย ซื้อจากผู้ขายหรือผู้ผลิตรายใดก็ได้โดย - สอบราคา/ประกวดราคาให้แจ้ง GPO - ตกลงราคา/พิเศษ ซื้อไม่สูงกว่าราคากลาง

9 ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 63 และ 64 กรณีมีกฎหมายหรือมติ ครม. กำหนดให้ซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาจากหน่วยงานใด ให้ซื้อโดยวิธีกรณีพิเศษ ให้ กสธ. มีหน้าที่แจ้งเวียน - บัญชีรายการยา ED - ราคากลางของยา ED - รายการเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้ GPO แจ้งรายการยา ED และรายการ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่ ผลิตและมีจำหน่าย

10 ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 10 บทกำหนดโทษ
ผู้มีอำนาจหรือหน้าที่ กระทำการโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ปฏิบัติตามระเบียบ หรือกระทำการโดยมีเจตนาทุจริต หรือกระทำโดยปราศจากอำนาจ ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ ถ้าการกระทำมีเจตนาทุจริต หรือเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายอย่างร้ายแรงให้ลงโทษปลดออกเป็นอย่างต่ำ ถ้าการกระทำเป็นเหตุให้ทางราชการเสียหายแต่ไม่ร้ายแรง ให้ลงโทษอย่างต่ำตัดเงินเดือน ถ้าการกระทำไม่เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายให้ลงโทษภาคทัณฑ์ หรือว่ากล่าวตักเตือนโดยทำคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร

11 ระเบียบการจัดซื้อยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
ระเบียบการจัดซื้อยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2543 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2546

12 สาระสำคัญ เวชภัณฑ์ แบ่งออกเป็น ยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา การบริหารยา : คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด ผู้อำนวยการ รพ.เป็นประธาน เภสัชกร เป็นเลขานุการ 3. การบริหารเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา : คณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ผู้อำนวยการ รพ. เป็นประธาน เภสัชกร ไม่จำเป็นต้องเป็นเลขานุการ

13 การจัดซื้อยาจะต้องจัดซื้อจากผู้ขายที่ได้รับใบอนุญาตขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
การจัดซื้อยาแผนปัจจุบันที่ผลิตในประเทศ สถานที่ผลิตยาจะต้องได้ใบรับรองมาตรฐานการผลิตยาตาม GMP ในหมวดยาที่เสนอขาย ยาที่จัดซื้อจะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนตำรับยา ตามกฎหมายว่าด้วยยา กรณียาที่จัดซื้อเป็นยานำเข้า สถานที่ผลิตยาจะต้องได้ใบรับรองมาตรฐานการผลิตยาตาม GMP จากประเทศที่ผลิตและได้รับอนุญาตให้นำเข้า รวมทั้งได้ขึ้นทะเบียนตำรับยา

14 ให้หน่วยราชการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน มีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ที่มีมูลค่าสูงให้ดำเนินการจัดซื้อรวม ให้มีหนังสือรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ยาทุกรุ่นที่ส่งมอบจากผู้ผลิต ให้หน่วยราชการรายงานผลการจัดซื้อยาหรือเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาให้กับศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยาของกระทรวงสาธารณสุข

15

16 มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบบริหารเวชภัณฑ์ พ.ศ.2542
มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบบริหารเวชภัณฑ์ พ.ศ.2542

17

18 1. มีการกำหนดกรอบรายการยาในบัญชีรายการยาของ รพ.แต่ละระดับ
หลักการสำคัญ : 1. มีการกำหนดกรอบรายการยาในบัญชีรายการยาของ รพ.แต่ละระดับ - รพศ. (รพ.แพทย์) มีจำนวนไม่เกิน รายการ - รพศ.อื่นๆ มีจำนวนไม่เกิน รายการ - รพท มีจำนวนไม่เกิน รายการ - รพช มีจำนวนไม่เกิน รายการ - สอ มีจำนวนไม่เกิน รายการ

19 2. มีการกำหนดกรอบสัดส่วนของยา ED ในบัญชีรายการยาของ รพ.แต่ละระดับ
- รพศ ไม่น้อยกว่า 70% - รพท ไม่น้อยกว่า 80% - รพช ไม่น้อยกว่า 90% - สอ ต้องใช้ยา ED ทุกรายการ

20 3. One generic name - One brand name (Single Standard)
4. ยาที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันและออกฤทธิ์ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกัน ให้คัดเลือกไว้ใช้ไม่เกิน 2 รายการ 5. ให้ยาของ สอ.เป็นส่วนย่อยของยา รพช. และยาของ รพช.ก็เป็นส่วนย่อยของยา รพศ./รพท.ของจังหวัดเดียวกัน

21 6. ให้มียาคงคลัง ไม่เกิน 3 เดือน
7. ให้แพทย์สั่งใช้ยา โดยใช้ชื่อสามัญทางยา 8. ให้มีการจัดซื้อยาร่วมในระดับจังหวัด ในกลุ่มของยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ที่มีราคาแพง และมีการใช้เยอะ

22 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดซื้อยาของกระทรวงสาธารณสุข ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 13 มีนาคม 2550

23

24 กำชับแพทย์ :- สั่งยาโดยใช้ชื่อสามัญ (Generic name)
ข้อเสนอ ปปช. 1. กำชับแพทย์ :- สั่งยาโดยใช้ชื่อสามัญ (Generic name) ใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติเป็นตัวเลือกแรก ใช้งบประมาณจัดซื้อไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ซื้อยาตามระเบียบ สนร.ว่าด้วยการพัสดุ ข้อ 61 ,62

25 ให้ดำเนินการจัดซื้อยาร่วมในระดับเขต
ข้อเสนอ ปปช. 2. ให้ดำเนินการจัดซื้อยาร่วมในระดับเขต

26 หลักเกณฑ์การจัดซื้อร่วม
ข้อเสนอ ปปช. 3. หลักเกณฑ์การจัดซื้อร่วม คัดเลือกกรรมการต่อรองราคา มีบุคคลภายนอกด้วย จัดซื้อโดยสัญญาจะซื้อจะขายฯ (ราคาคงที่ & แบบปรับราคา) ให้ กสธ.จัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลางรวบรวมราคา ให้ผู้ขายรับผิดชอบเก็บสำรองยาให้มีคุณภาพ และส่งให้ผู้ใช้ ตามที่สั่งเป็นคราว ๆ ไป กำชับการเบิกจ่ายชำระเงิน หากการจัดซื้อขัดหรือแย้งกับระเบียบใด ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบนี้

27 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 9 กันยายน 2546
เห็นชอบตามมาตรการที่ ป.ป.ช. เสนอ ให้ดำเนินการเฉพาะสถานบริการสาธารณสุข สังกัด กสธ. ก่อน หากได้ผลดีจึงขยายออกไปยังสถานบริการในสังกัดอื่น มอบให้ กสธ. รับไปกำหนดหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติร่วมกับ คณะกรรมการ ป.ป.ช. รายงานผลให้คณะรัฐมนตรีทราบด้วย

28 ภญ.ดวงตา ผลากรกุล โทร มือถือ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารเวชภัณฑ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google