ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNontawat Traivut ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ
2
วัตถุประสงค์ของ กฎหมาย 1. รักษาความสงบเรียบร้อยและความ มั่นคงภายในรัฐ 2. เป็นกลไกของรัฐในการระงับกรณี พิพาทโดยสันติและผดุงรักษาความ ยุติธรรมให้แก่สมาชิกในสังคม 3. ปกป้องและรักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวมและผลประโยชน์ของบุคคล 4. เป็นเครื่องมือพัฒนาสังคมให้ เจริญก้าวหน้า
3
ลักษณะสำคัญของกฎหมาย 1. ต้องมาจาก “ รัฏฐาธิปัตย์ ” ( ผู้บัญญัติกฎหมาย ต้องมีอำนาจในรัฐและเป็นรัฐ ที่เป็นเอกราช ) 2. เป็นกฎข้อบังคับที่ใช้ทั่วไปภายในดินแดนของ รัฐนั้น 3. เป็นกฎข้อบังคับของรัฐที่ประชาชนต้องปฏิบัติ ตาม โดยบัญญัติไว้ 2 ลักษณะคือ – บัญญัติให้ต้องกระทำ เช่น การเสียภาษีอากร ปฏิบัติ ตามกฎหมาย – บัญญัติให้ละเว้นหรืองดการกระทำ เช่น ห้ามมิให้ ปล้นจี้ชิงทรัพย์ของผู้อื่น 4. มีผลบังคับใช้ตลอดไปจนกว่าจะมีประกาศ ยกเลิก 5. มีบทลงโทษแก่ผู้ฝ่าฝืนที่เรียกว่า “ สภาพ บังคับ ” – สภาพบังคับทางอาญา มี 5 ประเภท ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน – สภาพบังคับทางแพ่ง คือการชดใช้ค่าเสียหาย หรือ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
4
ระบบ ของ กฎหมาย 1. กฎหมายลาย ลักษณ์อักษร ( Civil Law ) 2. กฎหมายที่ ไม่ เป็นลายลักษณ์ อักษร (Common Law) 3. กฎหมายของ ประเทศ สังคมนิยม (Socialist Law) 4. กฎหมาย ศาสนา (Religious Law)
5
ประเภทของกฎหมาย จำแนกตามขอบเขตของการใช้ 1. กฎหมายระหว่างประเทศ คือกฎหมายที่กำหนดเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา 2. กฎหมายภายในประเทศ คือกฎหมายที่บังคับใช้ภายในรัฐ กฎหมายเอกชนกฎหมายมหาชน
6
กฎหมายภายในประเทศ กฎหมายเอกชน หรือกฎหมายแพ่ง บัญญัติความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล ป้องกันมิให้บุคคลถูกละเมิดสิทธิ - กฎหมายแพ่ง - กฎหมายพาณิชย์ - กฎหมายพิจารณาความแพ่ง กฎหมายมหาชน เป็นกฎหมายที่รัฐไปมีส่วนร่วมเป็น คู่กรณีกับเอกชน - รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
8
จัดตามบทบาทของกฎหมาย 1. กฎหมายสารบัญญัติ กำหนดแต่เนื้อหากฎหมาย ล้วนๆ เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายที่ดิน 2. กฎหมายวิธี สบัญญัติ เป็นกฎหมายที่ใช้ประกอบกับ กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กำหนดขั้นตอน ของศาลว่าด้วยวิธีฟ้องร้อง ดำเนินคดีในศาลเป็นสำคัญ เช่น ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา
9
ที่มาของ กฎหมาย 1. จารีต ประเพณี 2. การตรา กฎหมาย ของฝ่าย นิติบัญญัติ 3. คำสั่งและ กฤษฎีกา ของฝ่าย บริหาร 4. คำ พิพากษา ของศาล 5. ความเห็น ของ นักวิชาการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.