งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรณีความเสี่ยง DMSc.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรณีความเสี่ยง DMSc."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรณีความเสี่ยง DMSc

2 เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร.
2 เกณฑ์การให้คะแนนบริหารความเสี่ยงของ กพร. ขั้นตอนที่ 1 มี คณก. บริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ ระบุ และจัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงประจำปี 2552 ส่ง ก.พ.ร. ภายใน 31 มี.ค ขั้นตอนที่ ดำเนินการตามแผน ฯ ให้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการดำเนินการตามแผน ฯ และมีข้อเสนอแนะสำหรับ แผน ฯ ปีต่อไป

3 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc
วิสัยทัศน์ “องค์กรหลักของประเทศในการเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงและประกันคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพตลอดจนสนับสนุนระบบเตือนภัยทางสุขภาพ ”

4 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc
วิสัยทัศน์ (ใหม่) “กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นผู้นำด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์”

5 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2551-2554) DMSc
พันธกิจ 1. ศึกษา วิจัย พัฒนา เพื่อให้ได้องค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข นำไปใช้และสนับสนุนการวินิจฉัย รักษา ควบคุมป้องกันโรค การตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และการบริการสุขภาพ 2. พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงและรับรองคุณภาพปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 3. ตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังเพื่อประเมินความเสี่ยงเตือนภัยสุขภาพ และแก้ไขปัญหายาเสพติด

6 แนวทางการระบุความเสี่ยงของ DMSc
อะไรคืองานหลัก (Core Business) ของ DMSC? DMSC เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ไม่มีรายได้ Outputs และ Outcomes ของ DMSC คืออะไร?? ในการผลิต Outputs แต่ละอย่าง DMSC มีกระบวนการดำเนินงานอย่างไร? แต่ละขั้นตอนของกระบวนงานของ DMSC. มีเหตุการณ์ใดบ้างที่อาจเกิดขึ้น และทำให้ DMSC. ไม่สามารถดำเนินงานต่อไปได้ หรือดำเนินงานได้แต่ทำให้ผลงานไม่มีผลสัมฤทธิ์เท่าที่ควร (DMSC. ตั้งสมมุติฐานใดบ้างในการดำเนินงาน สมมุติฐาน= ความเสี่ยง)

7 6 DMSc. มีภารกิจการให้ต่อสังคม 3 ประการ 1. ค้นคว้าวิจัยเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ ให้บริการทางวิทยาศาตร์การแพทย์และสาธารณสุข เช่น ให้การรับรอง ห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขของรัฐและเอกชน รวมทั้ง ตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ให้องค์ความรู้ และความรู้ความเข้าใจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ ประชาชน

8 Research leads to the summit of knowledge.
6 Research leads to the summit of knowledge. (การวิจัยนำมาถึงยอดแห่งความรู้) Impact พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม Input เงินทุน ข้อมูลสารสนเทศ นักวิจัย องค์ความรู้ เครื่องมือการวิจัย สิ่งอำนวยความ สะดวกอื่นๆ กระบวนการสร้าง องค์ความรู้ของ ของประเทศ Output องค์ความรู้ จากการวิจัย

9 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง
6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง กำหนดตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและหน้าที่การงานที่ทำ เช่น ● การดำเนินการวิจัยและพัฒนา เช่น เกิดความเสี่ยงเรื่องผลงานวิจัยไม่ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการ ● การให้บริการให้การรับรองห้อง lab. พัฒนาห้อง lab. ด้านการแพทย์และสารณสุขแก่หน่วยงานรัฐและเอกชน.... เช่น เกิดความเสี่ยงในเรื่องความล่าช้าของงานให้บริการ เกิดความเสี่ยงในเรื่องคุณภาพการให้บริการ

10 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง
6 เทคนิคการค้นหา (Searching) และคัดชี้ (Identifying) ความเสี่ยง 2. กำหนดสาเหตุและผลกระทบของความเสี่ยง (Cause and Effect) โดยตั้งคำถามว่า ผลกระทบที่เกิดจากสาเหตุของความเสี่ยงนั้นๆ คืออะไร .... เช่น ความเสี่ยงเรื่องการขาดสืบทอดตำแหน่ง การผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ ความเสี่ยงเรื่องเกิดคู่แข่งใหม่ๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ

11 ความสำคัญกับการวิจัย ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
Cause & Effect Diagram ขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาของประเทศ ต้องพึ่งพาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ขาดแรงจูงใจ และขาดการกระตุ้น ขาดทิศทางขององค์กรที่เหมาะสม ทำให้งานสำคัญหยุดชงัก ขาดผลงานดีเด่น ผลงานการวิจัยของประเทศมีน้อย ทำให้งานล่าช้าไม่เป็นไปตามแผน External Factors Internal Factors ขาดการสืบทอดตำแหน่ง นโยบายรัฐบาลไม่ให้ ความสำคัญกับการวิจัย NRCT ความล้มเลวของระบบ IT ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ไม่เพียงพอ ขาดผู้นำมืออาชีพ

12 Question & Answer


ดาวน์โหลด ppt กรณีความเสี่ยง DMSc.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google