งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2554-2563
และกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระดับชาติ นพ.ไพจิตร์ วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข Thank you Mr. chairman/ Madam chair, Good morning/afternoon ladies and gentlemen. การประชุมคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ครั้งที่ 1/2554 วันพุธที่ 12 ตุลาคม 2554 เวลา น. ณ ห้องประชุมชัยนาทนเรนทร อาคาร 1 ชั้น 2 ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1 1

2 63% of the world’s annual deaths are due to NCDs, approximately 25% of which are premature (below 60 years) and could be prevented Source : The Global status report on noncoommunicable diseases 2010, WHO 2011

3 Nearly 80% of the 36 million global NCD deaths were in low-and lower middle-income countries, 2008
In low- and lower middle-income countries, 29% of NCD deaths occur among people under the age of 60, compared to 13% in high-income countries. Nearly half (48%) of all NCD deaths in low- and middle-income countries are under the age of 70 years, compared with 26% in the high-income countries. Source : The Global status report on noncoommunicable diseases 2010, WHO 2011 Regional Office for South-East Asia, WHO

4 Proportion of global NCD deaths under the age of 70, by cause of death, 2008
Most NCDs are strongly associated and causally linked with four behaviours: tobacco use, physical inactivity, unhealthy diet and the harmful use of alcohol. Source : The Global status report on noncoommunicable diseases 2010, WHO 2011

5 Four types NCDs are largely preventable through effective interventions tackling shared modifiable risk factors The majority of NCDs can be averted through interventions and policies that reduce major risk factors. Source : The Global status report on noncoommunicable diseases 2010, WHO 2011

6 Prevention and control of NCDs : priorities for investment – a set of “Best Buys”
- A best buy is an intervention that is not only highly cost-effective but also cheap, feasible and culturally acceptable to implement. - Good buys are other interventions that may cost more or generate less health gain but still provide good value for money.

7 ภาระทางสุขภาพ 10 อันดับแรกของประชากรไทย จำแนกตามเพศ พ.ศ.2552
ภาระทางสุขภาพ 10 อันดับแรกของประชากรไทย จำแนกตามเพศ พ.ศ.2552 DALY Male Female Rank Disease DALY ('000) % 1 Traffic accidents 476 8.76 8.57 363 Diabetes 2 Alcohol dependence/harmful use 451 8.29 8.05 341 Stroke 3 359 6.60 7.31 309 Depression 4 HIV/AIDS 267 4.91 4.02 170 Ischaemic heart disease 5 Liver cancer 251 4.62 3.52 149 Osteoarthritis 6 236 4.3 3.5 147 7 207 3.8 2.8 120 8 165 3.0 118 Anaemia 9 Cirrhosis 164 2.6 108 10 COPD 159 2.9 2.5 106 Dementia All causes 5436 100 4231 Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group

8 อัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรค พ. ศ
อัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรค พ.ศ ที่มา: ฐานข้อมูลผู้ป่วยใน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานประกันสังคม และกรมบัญชีกลาง โดยสำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ หมายเหตุ: พ.ศ.2552 และ 2553 ข้อมูลผู้ป่วยในไม่รวมข้อมูลจากสำนักงานประกันสังคม รวบรวม/วิเคราะห์: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

9 อัตราตายต่อแสนประชากรจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญ 5 โรค พ.ศ.2548-2553
ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

10 บริโภค หวาน มัน เค็ม มากไป
การบริโภคไม่เหมาะสม (Unhealthy Diet) บริโภค หวาน มัน เค็ม มากไป ช่วง 2 ทศวรรษการบริโภคน้ำตาลเพิ่ม 3 เท่า เป็น 36.4 กก./คน/ปี ในปี เกินเกณฑ์มาตรฐาน 1.8–2.4 เท่า การบริโภคโซเดียมคลอไรด์ไม่ควรเกิน 6,000 มก./คน/วัน หรือโซเดียมไม่ควรเกิน 2,400 มก./คน/วัน แต่บริโภคเกิน เท่า ในปี 2550 การบริโภคไขมัน 12 ช้อนชา/คน/วัน เกินกว่าคำแนะนำ 2 เท่า มูลค่าการโฆษณาน้ำอัดลมและขนมขบเคี้ยว 4,506 ล้านบาท เป็น 1 ใน 3 ของการโฆษณาอาหารทั้งหมดในปี 2551 ประมาณการว่าเด็กและเยาวชนใช้จ่ายซื้อขนมขบเคี้ยว 9,800 บาท/คน/ปี รวมทั้งสิ้น 170,000 ล้านบาท/ปี ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ในเด็ก 1.6 ล้านคน ผู้ใหญ่ 17.6 ล้านคน และ อ้วนลงพุง 16.2 ล้านคน มีการใช้ยาลดความอ้วนเพิ่มขึ้น 5.5 เท่า สำหรับในวัยรุ่นหญิงเพิ่มสูงขึ้นถึง 16.3 เท่า ในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา

11 สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ > 15 ปี
ความชุก NHES III ( ) NNES IV ( ) ร้อยละ การเปลี่ยนแปลง กินผักและผลไม้เพียงพอตามข้อแนะนะ (5 ส่วน/วัน) (%) 21.7 17.7 -18.43 มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (%) 77.5 81.5 +5.16 สูบบุหรี่เป็นประจำ (%) 25.3 19.9 -21.34 ดื่มสุราอย่างหนัก (%) 44.6 17.6 -60.53 ดื่มสุราระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไป (%)* 9.2 7.3 -20.65 ปี 2552 มีการใช้สารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืชนำเข้า แสนตัน มูลค่า 16,168 ล้านบาท พบสารพิษตกค้างในผักและผลไม้สดนำเข้าถึงร้อยละ 16.7 ในปี 2553 ช่วง 2 ทศวรรษครัวเรือนไทยบริโภคยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เพิ่มขึ้น 2 เท่า เป็น 63,915 ล้านบาท มากกว่าการจ่ายเงินเพื่อสุขภาพ มีร้านจำหน่ายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในรัศมี 500 เมตร รอบมหาวิทยาลัยในกทม.เฉลี่ย 57 ร้าน/ตร.กม. ในปี 2552 *การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับเสี่ยงปานกลางขึ้นไป หมายถึง ได้รับแอลกอฮอล์ ≥ 41 gm/d ในผู้ชาย และ ≥ 21 gm/d ในผู้หญิง ที่มา: - รายงานการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ , สวรส. - รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ , สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สวรส.

12 ร้อยละการเปลี่ยนแปลง
สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ > 15 ปี ความชุก NHES III ( ) NNES IV ( ) ร้อยละการเปลี่ยนแปลง ความดันโลหิตสูง (%) 22.0 21.4 -2.72 เบาหวาน (%) 6.9 - ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน (%) (BMI ≥ 25 กก./ตร.ม.) 28.6 34.7 +21.32 ภาวะอ้วนลงพุง (%) 26.0 32.1 +23.46 ไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง (%) (≥240 มก./ดล.) 15.5 19.4 +25.16 ปัจจัยเสี่ยงโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด 3 ปัจจัยขึ้นไป* (%) 7.6 8.4 +10.52 เมแทบอลิกซินโดรม** (%) 21.1 *ปัจจัยเสี่ยงโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, อ้วน BMI≥ 25 kg/ตร.ม, การสูบบุหรี่, และคอเลสเตอรอลรวม ≥ 240 mg/DL ** ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม หมายถึง ภาวะที่มี 3 ใน 5 ปัจจัย ได้แก่ โรคเบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, อ้วนลงพุง, ภาวะไตรกลีเซอไรด์สูง, ภาวะไขมัน HDL ต่ำ ที่มา: - รายงานการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ , สวรส. - รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ , สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สวรส.

13 สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง
ความชุก 6.9% ความชุก 6.9% NHES III ( ) NHES IV ( ) เบาหวาน ทราบว่าป่วย 68.8% ทราบว่าป่วย 43.4% ควบคุมได้ 28.5% ควบคุมได้ 12.2% ความชุก 21.4% ความชุก 22.0% ความดันโลหิตสูง ทราบว่าป่วย 49.7% ทราบว่าป่วย 28.6% ควบคุมได้ 20.9% ควบคุม ได้ 8.6% ความชุก 19.4% ความชุก 15.5% ภาวะไขมันคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทราบว่าป่วย 27.3% ทราบว่าป่วย 12.9% ควบคุมได้ 14.8% ควบคุม ได้ 6.2%

14 (การประชุม ครม. ครั้งที่ 10/2554 ในวันอังคารที่ 8 มีนาคม 2554)
ครม.มีมติอนุมัติในหลักการแผนยุทธศาสตร์และแต่งตั้งกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับชาติ (การประชุม ครม. ครั้งที่ 10/2554 ในวันอังคารที่ 8 มีนาคม 2554)

15 เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก]
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจ 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 5 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] พิการ 4] ตาย 5] ภาระค่าใช้จ่าย 3 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ 3] การจัดการอารมณ์ได้ เหมาะสม ระยะสั้น 1-3 ปี [ ] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม ระยะกลาง 5 ปี [ ] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [ ] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน Roadmap As previously mentioned about the severity of 5 majors non-communicable chronic diseases, The National Economic and Social health Board Office, Ministry of Public Health, and Institute of Nutrition, Mahidol University together with various agencies at many knowledge-exchange platforms, formulate the long-term “Thailand Health Strategic Plan”, in empowering people, community, society and nation. This will create potential and immunity to prevent emerging health problems rooted from unhealthy lifestyles. Major targeted behavior-related diseases are directed in 4 aspects of reduction: disease, complication, death and expenditure by increasing lifestyle in 2 areas: appropriate consumption and sufficiency physical exercises for balance energy and weight. The plan comprises different phrases of implementation with concrete strategies. Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ สื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์ 15 15

16 กลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย
1. คณะกรรมการอำนวยการยุทธศาสตร์ฯ ประธาน : นายกรัฐมนตรี รองประธาน : รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย กรรมการ : ภาครัฐ องค์กรอิสระ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรระหว่างประเทศ สถาบันวิชาชีพ ภาคเอกชน สื่อมวลชน ภาคประชาสังคม เลขานุการ : ปลัด สธ. , เลขาธิการ สศช., อธิการบดี ม.มหิดล 2. คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์ฯ ที่ปรึกษา : ประเวศ วะสี, ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์, อมร นนทสุต, อัมมาร์ สยามวาลา, วิจารณ์ พานิช, วิชัย วนดุรงค์วรรณ ประธาน : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองประธาน : รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ : ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันวิชาชีพ ภาคเอกชน สื่อมวลชน ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน เลขานุการ : รองปลัด สธ. , รองเลขาธิการ สศช., ผู้อำนวยการสถาบันโภชนาการ ม.มหิดล

17 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google