ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPranon Patalung ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กลุ่มที่ 1
2
1.กระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต.รอบที่ 1
ปัญหา 1. การตรวจบูรณาการ (กระทรวงฯ / สำนักนายกรัฐมนตรี) 5-6 ครั้งต่อปี 2. ส่วนกลางไม่มีการชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบประเมิน รพ.สต. ให้ทุกจังหวัดทราบเป็นแนวทางเดียวกัน
3
ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1
1. การขาดแคลนบุคลากร 2. ขาดการสนับสนุนจากจังหวัดไปแม่ข่าย และ การสนับสนุนจากแม่ข่ายเอง 3.ขาดการบูรณาการงาน ของแต่ละฝ่าย 4. ขาดการเชื่อมโยงในแต่ละระดับ โดย เฉพาะจังหวัดกับ คปสอ. (จังหวัดไม่ได้ให้การสนับสนุนเท่าที่ควร / ไม่มี การทำความเข้าใจให้ตรงกันทั้งการประเมินการใช้จ่าย งบประมาณ
4
ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1
5. มีคณะกรรมการ บริหาร รพ.สต.ที่เข้มแข็ง โดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะมาประชุมทำความเข้าใจและตกลงกัน ก่อนลงมือปฏิบัติ 6. ปัญหาเรื่องการพิจารณาคัดเลือก รพ.สต. พบว่า บางอำเภอไม่มี รพ.สต. 7. ปัญหาความเร่งด่วนของนโยบาย และความไม่ชัดเจนของระบบรายงาน
5
ประเด็นและปัญหาที่พบจากการนิเทศติดตาม รอบที่ 1
8. การเพิ่มประเด็นการนิเทศ รพ.สต. มากกว่า 22 ข้อ และมีการพัฒนารูปแบบการประเมินเป็น สุนทรียนิเทศโดยใช้การพูดคุยเป็นเครื่องมือในการประเมิน 9. การขาดความชัดเจนในดำเนินงาน SRM 10. จังหวัดต้องการให้มีการบูรณาการเกณฑ์จากทุกภาคส่วน ให้เป็นเรื่องเดียวกัน (สปสช. / กระทรวงสาธารณสุข / อื่น ๆ )
6
ข้อเสนอแนะ ส่วนกลางควรที่จะพัฒนาองค์ความรู้ ผู้นิเทศงานระดับเขต /จังหวัด (SRM,แนวทางการพัฒนา รพ.สต.) นโยบาย รพ.สต.ควรชัดเจน ทุกกรม/กอง ควรจะมีการบูรณาการกันเกี่ยวกับเรื่อง SRM ให้ชัดเจน
7
ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ. สต
ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ.สต ที่เป็นธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ รูปแบบการจัดการงบประมาณแตกต่างกันไปแล้วแต่จังหวัด เช่น จังหวัดหนองคาย มี Project Manager (สสอ.)ทำหน้าที่บริหารจัดการงบประมาณ ร่วมกับ ผอ.รพ. /จังหวัดมหาสารคามอยากให้มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนจากส่วนกลาง ข้อเสนอแนะ จังหวัดต้องบริหารจัดการภายในจังหวัด ต้องมีคณะกรรมการที่ดูแลอย่างเหมาะสม ควรมีการทำความเข้าใจผู้บริหาร ระดับเขต จังหวัด ให้เข้าใจในเรื่องการสนับสนุนงบประมาณด้วย
8
ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ. สต
ประเด็นที่ 2 การจัดการงบประมาณให้รพ.สต ที่เป็นธรรม โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. คณะกรรมการดำเนินงานควรมาจากทุกภาคส่วนมีคำสั่งแต่งตั้งที่ชัดเจน /มีองค์ความรู้ในการบริหารจัดการ 2. มีภาคีเครือข่าย ร่วมบริหารจัดการ (รพช. / สสอ. /อปท./กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ /หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ) 3. สนับสนุนให้ประชาชนแสดงบทบาทในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน/สิ่งแวดล้อมที่ดี/มีมาตรการทางสังคม 4. ควรมีการประชุมชี้แจงระหว่าง ผู้ตรวจราชการฯ และจังหวัดให้เข้าใจตรงกัน
9
ประเด็นที่ 3 การควบคุมป้องกันโรคและการจัดการสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอแนะ ควรจะมีการวางแผน แก้ไขปัญหาร่วมกันทุกภาคีเครือข่าย ใช้ SRM เป็นเครื่องมือสู่แผนชุมชน เพื่อทำให้ประชาชนมีระบบเฝ้าระวังโรคที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยใช้มาตรการทางสังคมเข้ามาช่วย จะทำให้ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.