งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
มัลติมิเตอร์คือ - เครื่องมือวัดทางด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งที่สามารถวัดค่าต่างๆได้อาทิเช่น การวัดแรงดันไฟฟ้าประเภทต่างๆ ,การวัดกระแสไฟฟ้า,การวัดค่าความต้านทาน เป็นต้น

2 ประเภทของมัลติมิเตอร์
แบบตัวเลข (Digital Multimeter) แบบตัวเลข (Digital Multimeter) แบบเข็มชี้ (Analog Multimeter)

3 ข้อแตกต่างของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ กับแอนาลอกมัลติมิเตอร์
บอกค่าเป็นตัวเลข ดิจิตอลมิเตอร์ ข้อดี ค่าตัวเลขจะวิ่ง สังเกตค่าที่แน่นอนยาก ข้อเสีย

4 เห็นการเปลี่ยนแปลงของ สเกลไม่เป็นเชิงส่วนทำให้
เข็มสเกลอย่างชัดเจน แอนาลอกมิเตอร์ ข้อดี สเกลไม่เป็นเชิงส่วนทำให้ อ่านค่าสเกลลำบาก ข้อเสีย

5 องค์ประกอบของมัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกในการวัดตัวต้านทาน
สเกลในการอ่านค่า เข็มมิเตอร์เพื่อชี้ค่าสเกล ปุ่มปรับซีโร่โอห์ม ย่านวัดความต้านทาน จุดเสียบสายมิเตอร์

6 การเลือกย่านในการวัดความต้านทาน
X 1 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 2 KΩ นิยมใช้ที่ 0 Ω – 100 Ω X 10 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 KΩ นิยมใช้ที่ 10 Ω – 1 KΩ X 100 ใช้วัด 10 Ω จนกระทั่งถึง 200 KΩ นิยมใช้ที่ 100 Ω – 10 KΩ X 1K ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 KΩ นิยมใช้ที่ 1 KΩ – 100 KΩ ย่านวัดความต้านทาน (โอห์มมิเตอร์) X 1 ใช้วัด 0 Ω จนกระทั่งถึง 20 MΩ นิยมใช้ที่ 10 KΩ – 20 MΩ

7 การต่อมัลติมิเตอร์เข้ากับตัวต้านทาน
ลำดับขั้นตอน 1. ถอดตัวต้านทาน ออกจากวงจร 2. จับเข็มของสายวัด มิเตอร์ให้ถูกต้อง

8 3. กรณีที่ไม่ทราบค่าตัวต้านทาน

9 4. เมื่อเข็มที่สเกลไม่ขึ้นให้ปรับย่านวัดขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง

10 5. เมื่อเข็มที่สเกลยังไม่ขึ้นให้ปรับย่านวัดขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง

11 6. ปรับย่านวัดความต้านทานอีกระดับหนึ่ง เพื่อให้เข็มสเกลชี้บริเวณ
กึ่งกลางหน้าปัทม์

12 การอ่านค่าจากสเกลบนหน้าปัดของมัลติมิเตอร์
สเกลย่าน ความต้านทาน จากเลข 0 – 2 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 0.2 Ω จากเลข 2 – 10 มี 16 ขีด อ่านขีดละ 0.5 Ω

13 นอกจากนี้เมื่ออ่านค่าจากสเกลได้แล้วต้องนำค่าที่ได้
จากเลข 10 – 20 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 1 Ω จากเลข 20 – 50 มี 15 ขีด อ่านขีดละ 2 Ω จากเลข 50 – 100 มี 10 ขีด อ่านขีดละ 5 Ω จากเลข 100 – 200 มี 5 ขีด อ่านขีดละ 20 Ω นอกจากนี้เมื่ออ่านค่าจากสเกลได้แล้วต้องนำค่าที่ได้ ไปคูณกับย่านการวัดที่ตั้งไว้ด้วย

14 ค่าที่อ่านได้จากสเกลคือ 10
ย่านวัดที่ตั้งไว้คือ x 1K ค่าที่อ่านได้คือ 10 x 1 K = 10 KΩ

15 กรณีที่ทราบค่าตัวต้านทาน

16 ค่าที่อ่านได้จากสเกลคือ 100
ย่านวัดที่ตั้งไว้คือ x 10K ค่าที่อ่านได้คือ 100 x 10 K = 1 MΩ

17 ย่านการวัด x1 ตัวอย่างในการอ่านค่าสเกลจากย่านวัดความต้านทานต่างๆ
อ่านค่าได้จากสเกลคือ 10 กับอีก 3 ขีดๆละ 1 Ω อ่านได้คือ 13 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 13 Ω x 1 = 13 Ω Ans

18 ย่านการวัด x10 อ่านค่าได้จากสเกลคือ 20 กับอีก 2 ขีดๆละ 2 Ω อ่านได้คือ 24 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 24 Ω x 10 = 240 Ω Ans

19 ย่านการวัด x100 อ่านค่าได้จากสเกลคือ 5 กับอีก 4 ขีดๆละ 0.5 Ω อ่านได้คือ 7 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 7 Ω x 100 = 700 Ω Ans

20 ย่านการวัด x1K อ่านค่าได้จากสเกลคือ 50 กับอีก 1 ขีดๆละ 5 Ω อ่านได้คือ 55 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 55 Ω x 1K = 55 KΩ Ans

21 ย่านการวัด x10K อ่านค่าได้จากสเกลคือ 10 กับอีก 8 ขีดๆละ 1 Ω อ่านได้คือ 18 Ω นำค่าที่อ่านได้คูณกับย่านการวัดคือ 18 Ω x 10K = 180 KΩ Ans

22 จบการนำเสนอ

23 มัลติมิเตอร์อนาล็อกแบบต่างๆ


ดาวน์โหลด ppt การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google