งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓
พระมหาทิพย์ โอภาสโก น.ธ.เอก, ป.ธ.๙, กศ.ม. วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ To 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

2 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
1. การเจริญเติบโต( growth ) สุชา จันเอม หมายถึง การเพิ่มขนาดของส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ขนาด รูปร่าง สัดส่วน กระดูก กล้ามเนื้อและอื่นๆ ปรางค์ทิพย์ ทรงวุฒิศีล หมายถึง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงไปสู่วุฒิภาวะ(maturation ) ทางด้านการ เพิ่มขนาด 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

3 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
Young หมายถึง การเพิ่มของน้ำหนัก ส่วนสูง หรือส่วนต่างๆทางด้านร่างกายที่เพิ่มตามอายุ โดยไม่มีการส่วนใดของร่างกายเพิ่มขึ้น สรุป การเจริญเติบโต หมายถึง การเพิ่มขนาด ของส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น ขนาด รูปร่าง สัดส่วน กระดูก กล้ามเนื้อและอื่นๆ โดยเพิ่มตาม อายุ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

4 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
2. วุฒิภาวะ ( maturity ) กันยา สุวรรณแสง หมายถึง ภาวะที่บุคคล เจริญเติบโตโดยส่วนรวม เจริญเติบโตเต็มที่ทั้งทาง กายภาพและจิตภาพ พรรณี ชูทัย เจนจิต หมายถึง เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การมีวุฒิภาวะ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

5 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
สรุปได้ว่า วุฒิภาวะ หมายถึง กระบวนการการ เปลี่ยนแปลงของบุคคลที่เจริญถึงภาวะที่บุคคลมี ความเปลี่ยนแปลงในด้านหน้าที่และความสามารถ ที่จะแสดงออกได้ตามธรรมชาติในแต่ละช่วงวัย โดยไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้หรือการฝึกฝน 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

6 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
3. ความพร้อม ( readiness ) Robert หมายถึง ผลรวมของพัฒนาการของบุคคล ประสบการณ์แรงจูงใจ ความสามารถ และความสนใจที่ เกี่ยวข้องกับงานของการเรียนรู้ ความพร้อมของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับ วุฒิภาวะของเด็ก 2. ประสบการณ์ของเด็ก 3. แรงจูงใจและความสนใจ4. ความวิตกกังวลใจของเด็ก วิธีสอนที่มีคุณภาพ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

7 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
พรรณี ชูทัย เจนจิต กล่าวว่า ความพร้อม หมายถึง เป็นสภาวะที่สมบูรณ์ของบุคคลที่จะ เรียนรู้สิ่งใดสิ่งอย่างบังเกิดผล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ วุฒิภาวะ การได้รับการฝึกฝน การเตรียมตัว ความสนใจหรือแรงจูงใจ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

8 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
สรุป เป็นสภาวะที่บุคคลจะเรียนรู้สิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยความพร้อมมีผลมาจากวุฒิภาวะ พัฒนาการ แรงจูงใจและการได้รับการฝึกฝนดังนั้น การนำความรู้เกี่ยวกับความพร้อมไปใช้ในการเรียน การสอน จะต้องศึกษาช่วงวิกฤติและค้นพบเวลาที่ เหมาะสมหรือวิกฤติของนักเรียนที่จะเรียนรู้รายวิชา ต่างๆได้ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

9 แนวคิดความพร้อมในการเรียนรู้
แสงเดือน ทวีสิน ได้เสนอ ไว้ 2 แนวทาง 1. ความพร้อมเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (Natural Readiness Approach) 2. ความพร้อมเกิดจากการกระตุ้น (Guided Experience Approach ) 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

10 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
4. พัฒนาการ (development) Mussen การว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน มนุษย์หรือสัตว์ตั้งแต่เกิดจนตาย แต่ไม่ได้หมายถึงการ เปลี่ยน แปลงทุกอย่างของมนุษย์และสัตว์ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

11 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
1. ตามลำดับขั้น (sequence ) หมายถึง การเปลี่ยน แปลงจะเกิดขึ้นตามลำดับ  2. อัตราการเปลี่ยนแปลง (rate) หมายถึง อัตรา ความเร็วหรือช้าในการเปลี่ยนแปลง   3. รูปร่าง( form ) หมายถึง รูปร่างหรือการปรากฏ ของพัฒนาการในช่วงเวลาใดก็ได้ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

12 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
เกี่ยวกับตัวผู้เรียน 2.1 รู้  คำนึงถึง  และสอนให้เหมาะสมตามความ แตกต่างระหว่างบุคคล 2.2 ปรับวิธีสอนผ่อนให้เหมาะกับบุคคล   แม้สอน เรื่องเดียวกันแต่ต่างบุคคล อาจใช้ต่างวิธี 2.3 นอกจากคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลแล้ว 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

13 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
เกี่ยวกับตัวผู้เรียน 2.4 สอนโดยให้ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเอง 2.5 การสอนดำเนินไปในรูปที่ให้รู้สึกว่าผู้เรียนกับ ผู้สอนมีบทบาทร่วมกัน 2.6 เอาใจใส่บุคคลที่ควรได้รับความสนใจพิเศษเป็น ราย ๆ ไป 2.7 ช่วยเอาใจใส่คนที่ด้อยกว่า  ที่มีปัญหา  ฯลฯ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

14 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
เกี่ยวกับตัวการสอน การเริ่มต้นเป็นจุดสำคัญมาก สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลินไม่ให้ตึงเครียด สอนมุ่งเนื้อหา สอนโดยเคารพ ใช้ภาษาสุภาพ นุ่มนวล ไม่หยาบคาย 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

15 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียน 1.ธรรมชาติของผู้เรียน 2. วิธีการการเรียนรู้ หรือ ลีลาการเรียนรู้ 3. บุคลิกภาพ มี 6 แบบ ( อิสระ หลีกเลี่ยง ร่วมมือ พึ่งพา แข่งขัน และมีส่วนร่วม 4. การปรับวิธีการสอนให้สอดคล้องกับผู้เรียน 5.นำผลการทดลองใช้เป็นข้อมูล 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙

16 วิเคราะห์ธรรมชาติผู้เรียน
กระบวนการทางปัญญา 1.ฝึกสังเกต 2.ฝึกบันทึก 3.ฝึกการนำเสนอ 4.ฝึกการฟัง 5.ฝึกปุจฉา - วิสัชนา 6.ฝึกตั้งสมมุติฐานและฝึก ตั้งคำถาม 7.ฝึกการค้นหาคำตอบ 8.การวิจัย 9.เชื่อมโยงบูรณาการ 05/04/60 พุทธวิธีการสอน โดย พระมหาทิพย์ โอภาสโก ป.ธ.๙


ดาวน์โหลด ppt พุทธวิธีการสอน (๒) (Buddha's Teaching Methods) รหัสวิชา บส ๐๑๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google