งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 สไล ด์ชุด ฉบับย่อ 2 ขอบเขตของเนื้อหาขอบเขตของเนื้อหา รวบรวมข้อมูลจากวารสารฉบับเต็มของ สำนักพิมพ์ Elsevier ประมาณ 1,700 ชื่อ จากสาขาวิชา ต่างๆ 28 สาขาวิชา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 สไล ด์ชุด ฉบับย่อ 2 ขอบเขตของเนื้อหาขอบเขตของเนื้อหา รวบรวมข้อมูลจากวารสารฉบับเต็มของ สำนักพิมพ์ Elsevier ประมาณ 1,700 ชื่อ จากสาขาวิชา ต่างๆ 28 สาขาวิชา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 1 สไล ด์ชุด ฉบับย่อ

3 2 ขอบเขตของเนื้อหาขอบเขตของเนื้อหา รวบรวมข้อมูลจากวารสารฉบับเต็มของ สำนักพิมพ์ Elsevier ประมาณ 1,700 ชื่อ จากสาขาวิชา ต่างๆ 28 สาขาวิชา และมีรายการบรรณานุกรม จาก วารสารกว่า 10,000 ชื่อ มีบทความฉบับเต็มมากกว่า 1.9 ล้านบทความ ให้เอกสารฉบับเต็มทั้งหมดเป็นแฟ้มข้อมูล แบบ PDF

4 3 การเข้าถึง (access) ฐานข้อมูล ScienceDirect การเข้าใช้ฐานข้อมูล สามารถเข้าได้ 2 ทาง คือ http://www.scien cedirect.com หรือ http://www.clib. psu.ac.th เลือก ฐานข้อมูลเพื่อการ ค้นคว้าวิจัย

5 4 วิธีการสร้างประวัติ ส่วนตัว

6 5 การสร้างประวัติ ส่วนตัว การสร้างประวัติส่วนตัว (create a personal profile) จะทำให้ผู้สืบค้น สามารถใช้ลักษณะพิเศษ เช่น บันทึกประวัติ การค้น (search history) ใช้บริการ email alerts เมื่อมีบทความใหม่ๆ ในเรื่องที่เคยสืบค้นไปแล้วเพิ่มเข้ามาใน ฐานข้อมูลนี้

7 6

8 7 จอภาพสำหรับสืบค้นขั้น พื้นฐาน

9 8 จอภาพสำหรับสืบค้นขั้นสูงจอภาพสำหรับสืบค้นขั้นสูง

10 9 ลักษณะรายการ ดรรชนีวารสาร คลิกดูบทความ ฉบับเต็ม (Portable Document File) จัดเรียงรายการ ดรรชนีใหม่ ลักษณะรายงานผล การสืบค้น

11 10 ตัวอย่างเอกสารฉบับเต็มเมื่อคลิก ที่ข้อความ “PDF” แสดง จำนวน หน้า เอกสาร สั่งพิมพ์หรือบันทึก ข้อมูล

12 11 ภาพแสดงบทคัดย่อเมื่อคลิกที่ข้อความ “Abstract” หรือ “SummaryPlus” ระบบจะให้ Abstract หรือ Summary Plus อย่างใด อย่างหนึ่งเสมอ

13 12 รายชื่อวารสารเรียง ตามตัวอักษร

14 13 สัญลักษณ์แทนบทความที่ สืบค้นมาได้ บทความจากวารสารที่หอสมุดฯ บอกรับซึ่งจะสามารถเรียกดูเอกสาร ฉบับเต็มได้ บทความที่หอสมุดฯ ไม่ได้บอกรับ ซึ่งเรียกดูได้บางบทความ วารสารฉบับเต็มที่ให้ฟรีซึ่งหอสมุดฯ ไม่ได้บอกรับ บทความจากเว็บไซต์ที่เป็นหุ้นส่วน ของ ScienceDirect บริการนำส่งเอกสาร (Document Delivery) $Order Document Subscribed Journals Non- Subscribed Journals Partner Website Complim entary

15 14เทคนิคการสืบค้น การสืบค้นขั้นพื้นฐานต้องใช้ตัว ปฏิบัติการแบบบูล (Boolean operators) หรือ คำเชื่อมแบบบูล (Boolean connectors) โดย กลุ่มคำที่ไม่มีคำเชื่อมแบบบูลอยู่จะถือว่าเป็นวลี (phrase) ตัวอย่างเช่น smart cards วิธีการใช้ 1. ใช้ AND เพื่อ - เชื่อมคำที่มีความหมาย ต่างกันคนละแง่มุม - ต้องการให้คำค้นทั้งหมด ปรากฏอยู่ในบทความเดียวกัน - ต้องการลดจำนวน บทความที่ต้องการค้น เช่น kidney AND liver ( ไต และ ตับ ) kidn ey live r kidney AND liver สาธิต การค้น

16 15 3. ใช้ OR เมื่อข้อมูลมากขึ้น โดยใช้ดึงข้อมูลที่ มีคำที่ต้องการค้นมาทั้งหมดแม้ว่าในเอกสาร บางฉบับจะมีคำค้นคำใดคำหนึ่งปรากฏอยู่ก็ ตาม เช่น ป้อนคำค้นว่า kidney OR renal ( ไต หรือ เกี่ยวกับไต ) เทคนิคการสืบค้น ( ต่อ ) Kidn ey ไต Ren al เกี่ยวกั บไต kidney AND renal kidney OR renal

17 16 เทคนิคการสืบค้น ( ต่อ ) 4. ใช้ AND NOT เพื่อคัดคำหรือบทความที่ไม่ ต้องการออกไป ที่สำคัญ คำเชื่อมนี้ต้องอยู่ในตำแหน่งท้าย ของสายอักขระ (search string) ในการค้น ตัวอย่างเช่น breast cancer AND NOT treatment breas t canc er treat ment

18 17 เทคนิคการสืบค้น ( ต่อ ) 5. การเลือกคำค้นที่ตรงกับหัวเรื่องที่สนใจ ที่สุดเพื่อให้ได้ผลการค้นที่ดีที่สุด ควรค้นพร้อมด้วยคำพ้องความหมาย (synonym), คำที่มีให้เลื่อกใช้ซึ่งหมาย ถึงสิ่งเดียวกัน (alternative word), และ คำย่อ (abbreviation)

19 18 เทคนิคการสืบค้น ( ต่อ ) 6 6. อักขระที่ใช้แทนอักษรที่ตามหลังรากศัพท์ (Wildcard characters) ใช้เมื่อต้องการตัดยอดคำที่ต้องการค้นให้ เหลือแต่รากศัพท์ซึ่งทำให้การค้นคำที่มีรากศัพท์ เหมือนกันทำได้ง่ายขึ้น อักขระเหล่านี้ได้แก่ รูปแบบ ตัวอย่างการใช้คำสั่ง ผลการค้นได้ รูปแบบ ตัวอย่างการใช้คำสั่ง ผลการค้นได้ ! Behav! Behave, behavior, behaviour, behavioural, etc, * Wom*n woman, women ( กำหนดให้ลงท้ายด้วยอักษร n) ___**n bernst**n bernstein, bernstien,etc ( ลงท้ายด้วยอักษร n) ___** transplant** transplant, transplanted, transplantee แต่ไม่ค้น ดังนี้คือ ransplantation หรือ transplanting เพราะเผื่อไว้ 2 ตัวอักษรเท่านั้น ถ้าต้องการ คำที่มีรากศัพท์ transplant ทั้งหมด ให้ใช้ เครื่องหมาย ! ต่อท้าย เป็น transplant !

20 19 เทคนิคการสืบค้น ( ต่อ ) 7. การกำหนดคำค้นที่อยู่ในเขตข้อมูลที่ ต้องการ (field searching) ถ้าต้องการกำหนดเขตข้อมูลให้กำหนดโดย พิมพ์ชื่อเขตข้อมูล และใส่วงเล็บที่คำค้น ตัวอย่างเช่น keywords (neurotoxin) ถ้าต้องการสืบค้นระหว่างเขตข้อมูลให้ละชื่อ เขตข้อมูล (omit field names) เช่น ป้อน คำค้นว่า neurotoxin ระบบจะค้นคำนี้ใน ทุกเขตข้อมูลที่มีการเอ่ยถึง ได้แก่ ในชื่อ บทความ คำสำคัญ บทคัดย่อ ส่วนของ เนื้อหา และในส่วนรายการอ้างอิง

21 20 หลังจากสืบค้นจนได้ข้อมูลที่ ต้องการและต้องการจัดเก็บรายการ ดรรชนีวารสารไว้บนแผ่นบันทึกข้อมูลไว้ พิจารณาในภายหลัง ผู้สืบค้นต้องปฏิบัติดังนี้ 1. คลิกเลือกรายการที่ต้องการที่ช่อง สี่เหลี่ยมจัสตุรัสเล็กๆ หน้าราย การทที่ต้องการ ถ้าต้องการทุก รายการไม่ต้องคลิกเลือก 2. คลิกข้อความว่า “Export Citations” การบันทึกรายการ ดรรชนีวารสาร และสาระสังเขป 1 2

22 21

23 22

24 23

25 24 Student. doc ตั้งชื่อ แฟ้มข้อมูล

26 25 ถ้าต้องการดูแฟ้มข้อมูลที่ บันทึกไว้ทันที


ดาวน์โหลด ppt 1 สไล ด์ชุด ฉบับย่อ 2 ขอบเขตของเนื้อหาขอบเขตของเนื้อหา รวบรวมข้อมูลจากวารสารฉบับเต็มของ สำนักพิมพ์ Elsevier ประมาณ 1,700 ชื่อ จากสาขาวิชา ต่างๆ 28 สาขาวิชา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google