งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จังหวัดนครปฐม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จังหวัดนครปฐม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดนครปฐม

2 ปัญหาและอุปสรรค นโยบายไม่ชัดเจน
ผู้บริหารทุกระดับไม่ให้ความสำคัญและไม่ให้การสนับสนุน งบประมาณ บุคลากร

3 1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
1.1 คณะกรรมการต้องมาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานทางสุขภาพ โดยเฉพาะ อปท. อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียน ถ้าคณะกรรมการมาจากทุกภาคส่วน การขอความร่วมมือจะง่ายขึ้น - คณะกรรมการ คปสอ. มีไม่ครบทุกภาคส่วน - คณะกรรมการหัวหน้าส่วนอำเภอ ไม่ครบทุกภาคส่วน - ตั้งคณะกรรมการการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

4 1.2 มีการประชุมของคณะกรรมการฯ
- การกำหนดการประชุม ไตรมาสละครั้ง(4ครั้ง/ปี) - การประชุมคณะกรรมการฯ ควรกระทำเมื่อจำเป็น การประชุมบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็น จะทำให้ขาดความสนใจ ผู้ร่วมประชุมน้อย - การประชุมทุกภาคส่วนต้องมีเบี้ยประชุม หรือต้องมีงบประมาณสนันสนุนการดำเนินงาน ที่ต้องการตัดสินใจจากผู้เข้าร่วมประชุม 1.3 การประชุมมีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโรคและภัยสุขภาพฯ - การวิเคราะห์สถานการณ์ เมื่อกำหนดปัญหาได้แล้ว ต้องวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงให้คณะกรรมการรับทราบด้วย เพื่อหาแนวทางในการลดปัจจัยเสี่ยง

5 1.4 มีการติดตามผลการดำเนินงานตามมติการประชุมกรรมการฯ
- การติดตามการประชุม ต้องให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายงาน มีส่วนร่วมในการนำเสนอความก้าวหน้า - การติดตามผลการดำเนินงาน ควรให้หน่วยงานระดับสูงเข้ามามีส่วนร่วมในการกระตุ้น หรือตรวจสอบ หรือให้ข้อเสนอแนะ เช่น สสจ. ท้องถิ่นจังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา

6 2. มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี
2.1 ระบบระบาดวิทยาที่สำคัญ คือ ระบบเฝ้าระวัง แต่ละอำเภอต้องแสดงให้ชัดว่ามีระบบเฝ้าระวังอะไรบ้าง ใครบ้างที่ต้องแจ้งเหตุการณ์และมีวิธีตอบสนองต่อเหตุการณ์นั้นอย่างไร 2.1.2 จะทำอย่างไร ให้การประเมินผลความทันเวลา สามารถย้อนกลับไปให้หน่วยที่ให้ข้อมูล เช่น รพสต. รพช. ได้ในทันที 2.1.3 การใช้เทคโนโลยี/คอมพิวเตอร์ มีการวิเคราะห์ข้อมูลและมีการนำเสนอข้อมูลให้คณะกรรมการสม่ำเสมอ - การวิเคราะห์ข้อมูลต้องทำได้ ทุกระดับ ทั้งในระดับอำเภอ รพช.และตำบล

7 2.1.4 การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ ต้องทำในทุกระดับ ตั้งแต่ ตำบล อำเภอ และจังหวัด
2.2 มีทีม SRRT ควรมีการประเมินทุกปี ปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งอาจประเมินโดยทีมจังหวัด 2.3 ความสามารถในการตรวจทางห้องปฏิบัติการบางครั้งขึ้นอยู่กับ ศักยภาพ/คุณวุฒิ ของเจ้าหน้าที่ ควรเพิ่มในระบบส่งต่อได้ ในพื้นที่ที่ไม่มีนักวิทยาศาสตร์การแพทย์

8 3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
- การกำหนดแผนต้องเป็นปัญหาจริงๆ ถ้าปัญหาตรง/ใกล้ตัวจะได้รับความน่าสนใจ และความร่วมมือมาก 4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม - ขาดจัดเก็บหลักฐานที่เป็นปัจจุบัน อาจเก็บหลักฐานเป็นรูปถ่ายและบรรยายให้ทราบเหตุการณ์

9 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt จังหวัดนครปฐม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google