ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMaliwan Suramongkol ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สัปดาห์ที่ 9 การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain (Part I)
2
จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถแปลงวงจรจากโดเมนเวลาเป็นโดเมนความถี่เชิงซ้อนได้ สามารถวิเคราะห์วงจรโดยการใช้การแปลงลาปลาซ และการแปลงลาปลาซผกผันได้ ใช้การวิเคราะห์โดยใช้การแบ่งแรงดัน และการแบ่งกระแสมาประยุกต์ ในการวิเคราะห์วงจรได้ หาความสัมพันธ์ของฟังก์ชันถ่ายโอนได้
3
เนื้อหา การวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วย แหล่งจ่ายอิสระ ตัวต้านทาน
ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ ฟังก์ชันถ่ายโอน อิมพิแดนซ์ บทสรุป
4
กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ
การวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วยอุปกรณ์สะสมพลังงาน ขั้นตอนในการวิเคราะห์วงจรของสมการเชิงอนุพันธ์โดยใช้วิธีการแปลงลาปลาซ กำหนดตัวแปรในวงจรตัวอย่าง กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ แรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ เขียนสมการเชิงอนุพันธ์ของวงจร ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ กำหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรในวงจร แปลงลาปลาซสมการเชิงอนุพันธ์ แก้สมการโดยวิธีการของโดเมน s เพื่อหาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่า ใช้กฎของคาร์เมอร์ (Cramer’s rule) แก้สมการโดยวิธีการแปลงลาปลาซผกผันเพื่อหาค่าตัวแปร ใช้การแยกเศษส่วนย่อย เปิดตารางลาปลาซเพื่อหาค่าตัวแปรที่แปรตามเวลาตามต้องการ
5
ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ค่าเริ่มต้นของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ จงวิเคราะห์หากระแส วิธีทำ เขียนสมการเชิงอนุพันธ์ของแรงดันในลูป โดยใช้ KVL แปลงลาปลาซ แปลงลาปลาซแหล่งจ่ายแรงดัน ค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่กำหนด
6
ใช้การแยกเศษส่วนย่อยเพื่อหาค่ากระแส
หาค่าของ หาค่าของ แทนค่า และ เปิดตารางลาปลาซ ตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่ากระแส
7
ตัวอย่างที่ 2 จงวิเคราะห์หากระแส และแรงดัน กำหนดให้ และ เมื่อแหล่งจ่ายแรงดันเป็น วิธีทำ KVL ในลูปกระแส สมการกระแสของตัวเก็บประจุ แปลงลาปลาซ แทนค่าแหล่งจ่ายแรงดันในโดเมน s แทนค่าพารามิเตอร์ต่างๆ
8
ค่ากระแสในโดเมน s แยกเศษส่วนย่อย เปิดตารางลาปลาซ
9
ค่าแรงดันในโดเมน s เปิดตารางลาปลาซ
10
อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s
ฟังก์ชันถ่ายโอนและอิมพิแดนซ์ ฟังก์ชันถ่ายโอน (Transfer function :H(s)) คืออัตราส่วนของแรงดันหรือกระแสในวงจรต่อแหล่งจ่ายแรงดันหรือแหล่ง จ่ายกระแสในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s โดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่ คืออัตราส่วนของแรงดันเฟสเซอร์ ต่อกระแส เฟสเซอร์หน่วยเป็นโอห์ม อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s คืออัตราส่วนของแรงดันในโดเมน s, ต่อกระแสในโดเมน s, โดยที่อุปกรณ์ไม่มีการสะสมพลังงาน แอดมิดแตนซ์ (Admittance) ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนเป็นส่วนกลับของค่าอิมพิแดนซ์
11
กรณีตัวต้านทาน ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซ อิมพิแดนซ์ กรณีตัวเหนี่ยวนำ ไม่พิจารณาการสะสมพลังงานในตัวเหนี่ยวนำ ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซโดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์
12
กรณีตัวเก็บประจุ ไม่พิจารณาการสะสมพลังงานในตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซโดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์
13
ตัวอย่างที่ 3 ฟังก์ชันถ่ายโอนเมื่อกำหนดให้แรงดันเอาท์พุทคือแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน และแรงดันอินพุทคือแหล่งจ่ายแรงดัน (ข)จงหาค่าของโพล (Pole) และศูนย์ (Zero) ของฟังก์ชันถ่ายโอน (ค)จงหาแรงดัน กำหนดให้ และแหล่งจ่ายแรงดันเป็นฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย
14
วิธีทำ KVL ในลูปกระแส แรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน ฟังก์ชันถ่ายโอน ค่าของศูนย์ ค่าของโพล
15
แทนค่า แปลงลาปลาซ แหล่งจ่ายแรงดัน ใช้แยกเศษส่วนย่อย แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานในโดเมน s เปิดตารางลาปลาซ
16
ตัวอย่างที่ 4 (ก)จงหาฟังก์ชันถ่ายโอนกำหนดให้แรงดันเอาท์พุทคือแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน และแรงดันอินพุทคือแหล่งจ่ายแรงดัน กำหนดให้ (ข)จงหาแรงดัน และแหล่งจ่ายแรงดันเป็นสัญญาณอิมพัลส์หนึ่งหน่วย (ค)จงหาค่าของโพล (Pole) และศูนย์ (Zero) ของฟังก์ชันถ่ายโอน
17
อิมพิแดนซ์สมมูล ใช้การแบ่งแรงดันเพื่อหาค่าแรงดัน ฟังก์ชันถ่ายโอน
18
แทนค่าแหล่งจ่ายในโดเมน s คือ
และ ฟังก์ชันถ่ายโอน ค่าของศูนย์ ค่าของโพล เปิดตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่าแรงดันเอาท์พุทในโดเมนเวลา
19
ที่ไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขเริ่มต้นของอุปกรณ์สะสมพลังงาน
บทสรุปสัปดาห์ที่ 9 การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s ประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซเพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงจร อธิบายการแปลงอุปกรณ์ต่างๆในโดเมนเวลาให้เป็นโดเมน s ใช้เทคนิคการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงมาใช้ในการแก้ปัญหา หาความสัมพันธ์ของเอาท์พุทและอินพุทของวงจรหรือที่เรียกว่าฟังก์ชันถ่ายโอน ที่ไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขเริ่มต้นของอุปกรณ์สะสมพลังงาน หาค่าศูนย์และค่าโพลของฟังก์ชันถ่ายโอน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.