ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำ BARCHART
2
การวางแผนงาน BARCHART
เริ่มจาก พ.ศ โดยวิศวกร HENRY GANTT จึงมีอีกชื่อเรียกว่า GANTT’s Chart - แสดงกิจกรรมโครงการในลักษณะของตารางเวลา เป็นแกนตั้งและแกนนอน มีกราฟแท่งและกราฟเส้น แสดงกิจกรรมและความก้าวหน้าของงาน - จัดทำง่าย อ่านทำความเข้าใจได้ง่าย และปรับแก้ไขได้ง่าย - สามารถเปรียบเทียบระหว่าง Planned และ Actual Progress
3
การวางแผนงาน BARCHART
เริ่มจาก WBS จากตัวอย่างการทำไข่เจียว - ประมาณ ระยะเวลาแต่ละกิจกรรม 1. ตีไข่ นาที 2. สับหมู นาที 3. สับบด กระเทียมพริกไทย 2 นาที 4. ผสม ไข่ หมู กระเทียมพริกไทย 3 นาที 5. ทอด นาที
4
นำกิจกรรมใส่ในตาราง BARCHART
ที่ กิจกรรม เวลา (นาที) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ตีไข่ สับหมู สับบดกระเทียมพริกไทย ผสม ไข่ หมู กระเทียมพริกไทย ทอด พ่อครัวคนเดียวใช้เวลา 21 นาที เพราะต้องทำทีละกิจกรรม
5
พิจารณาลำดับการทำงาน
ที่ กิจกรรม เวลา (นาที) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 ตีไข่ สับหมู สับบดกระเทียมพริกไทย ผสม ไข่ หมู กระเทียมพริกไทย ทอด พ่อครัวสองคนใช้เวลาเพียง 14 นาที เพราะสามารถทำงานสองอย่างพร้อมกันได้ คือ ตีไข่ สับหมู และคนตีไข่มาสับกระเทียมพริกไทยต่อได้
6
การคำนวณระยะเวลาของกิจกรรม
พิจารณา ประเด็นดังนี้ 1. อัตราการทำงานของทรัพยากรที่เป็นหลัก (Driving Resource) ของกิจกรรมนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักร หรือ แรงงาน เช่น ปั้นจั่น 1 ตัว ตอกเข็ม 26 เมตร ได้วันละ 4 ต้น ช่างอิฐ 1 คน ก่ออิฐได้วันละ 3 ตารางเมตร เป็นต้น 2. ประสบการณ์ที่ผ่านมาในงานที่คล้ายคลึงกัน 3. บางงานต้องอาศัยผู้มีประสบการณ์เฉพาะ เช่น งานระบบ 4. เวลา เป็นอัตราส่วนกับทรัพยากรที่มี แต่ไม่ใช่การแปรผันตรงเสมอไป คนมากเกินไปประสิทธิภาพอาจลดลง
7
การคำนวณระยะเวลาของกิจกรรม
พิจารณา ประเด็นดังนี้ 5. พิจารณาขีดความสามารถของแรงงานและเครื่องจักร 6. เพื่อร้อยละจาก สภาพแวดล้อมต่างๆ (อธิบายอย่างละเอียดในเรื่อง เครื่องจักรกลก่อสร้าง) 7. กิจกรรมส่วนใหญ่จะใช้ทรัพยากรหลายประเภทประกอบกัน ดังนั้นต้องพิจารณา Team Combination ให้เหมาะสม เช่น อาจจัดทีมก่ออิฐ โดยมี ช่างอิฐ 1 คน กรรมกร 1 คน ทำงานร่วมกัน เป็นต้น 8. อาจพิจารณาจากอัตราการทำงานมาตรฐานช่วยได้บ้าง
8
ลักษณะของ BARCHART BAR CHART ควรประกอบด้วย 1. ชื่อโครงการ สถานที่ก่อสร้าง 2. วันเริ่มงานและวันเสร็จงาน 3. ลำดับที่ รหัสงาน 4. กิจกรรมย่อย Activities หรือ Work Packages เรียงลำดับตามวันที่เริ่มงาน 5. ปริมาณงานหรือราคาของแต่ละกิจกรรม 7. ร้อยละของกิจกรรมย่อยต่อกิจกรรมทั้งโครงการ
9
PRACTICING แบบฝึกปฏิบัติ
ให้นักศึกษาพิจาณาตัวอย่างของ BARCHART จริงจากหน่วยงานต่างๆ พิจารณารูปแบบที่แตกต่างกัน - อาจารย์ แสดงตัวอย่างการสร้าง BARCHART บนกระดานและ แสดงการสร้าง BARCHART Step by Step
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.