งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบสารสนเทศ (Information System).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบสารสนเทศ (Information System)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบสารสนเทศ (Information System)

2 ระบบสารสนเทศ (Information System)

3 องค์ประกอบของสารสนเทศ
การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (input) เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อเข้าการประมวลผล เช่น จำนวนชั่วโมงการทำงาน เกรดแต่ละรายวิชา การประมวลผล (process) เป็นการนำข้อมูลที่ได้จากการนำเข้าข้อมูลมาประมวลผล เช่น เอาจำนวนชั่วโมงการทำงานมาคูณกับอัตราค่าจ้าง เอาเกรดแต่ละรายวิชามาคำนวณ ผลลัพธ์ ( output) เป็นการแสดงผลที่ได้จากการประมวลผล เช่น ค่าจ้าง เกรดเฉลี่ย โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจถูกส่งย้อนกลับ (feedback) เพื่อปรับปรุงการประมวลผลหรือการนำเข้าข้อมูล เช่น มีการป้อนข้อมูลชั่วโมงการทำงานผิด

4 องค์ประกอบของสารสนเทศ
การนำ ข้อมูลเข้า การประมวลผล ผลลัพธ์ ข้อมูลย้อนกลับ ระบบสารสนเทศ (IS) สิ่งแวดล้อมองค์กร สหภาพแรงงาน สถาบัน การเงิน ผู้ขาย ปัจจัย การผลิต รัฐบาล (นโยบาย, กฎหมาย) คู่แข่งขัน ผู้ถือหุ้น (เจ้าของกิจการ) ชุมชน โลก ลูกค้า องค์ประกอบ การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ input การประมวลผล processing ผลลัพธ์ output อาจมีการส่งข้อมูลย้อนกลับ feedback หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปปรับปรุง เช่น ประมวลผลแล้วพบว่าผลลัพธ์ผิด เช่น ป้อนจำนวนชั่วโมงการทำงานเกิน สิ่งแวดล้อมองค์กร เช่น คู่แช่ง ลูกค้า ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบ

5

6 ความสำคัญของระบบสารสนเทศ
การท้าทายของเศรษฐกิจโลก ผู้บริโภคมีการคำนึงบริการที่สะดวกรวดเร็ว เช่น ส่งถึงบ้าน เปิด 24 ชม. ยุคของระบบเศรษฐกิจฐานความร้ การแข่งขันทางการค้า เช่นข้อมูลผลิตภัณฑ์ เพิ่มช่องทางจำหน่าย การขยายเครือข่ายทางการค้า ขยายตลาด เช่น franchise , E-commerce ท้าทาย ผู้บริโภคคำนึงถึงการให้บริการที่สะดวกรวดเร็ว เช่น ส่งถึงบ้าน เปิด 24 ชั่วโมง-> ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ knowledge based economy การแข่งขัน มีการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการแข่งขัน เช่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจำหน่วย การประชาสัมพันธ์ ขยายเครือข่าย การทำ franchise , ธุรกิจ online , e-commerce ความก้าวหน้า สารสนเทศกระจายไปยังผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้สารสนเทศกระจายไปยังผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7 คุณลักษณะของสารสนเทศ
ถูกต้องแม่นยำ (Accurate) ปราศจากข้อผิดพลาดใด GIGO (garbage in garbage out) สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) ต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริงที่ครบถ้วน ใบรายงานผลการเรียน (ชื่อ วิชา เกรด เกรดเทอมนี้ เกรดเฉลี่ยสะสม) เข้าใจง่าย (Simple) แสดงรายละเอียดที่จำเป็น ไม่แสดงรายละเอียดมากเกินไป ทันต่อเวลา (Timely) ต้องทันสมัย รวดเร็ว ทันต่อการใช้ตัดสินใจ เชื่อถือได้ (Reliable) ขึ้นอยู่กับความน่าเชื่อถือของวิธีการรวบรวมข้อมูล คุ้มราคา (Economical) ต้องประหยัด เหมาะสมกับราคา ตรวจสอบได้ (Verifiable) สามารถตรวจสอบความถูกต้องก่อนนำข้อมูลไปใช้ได้ ยืดหยุ่น (Flexible) ในไปใช้ในวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันได้ รายงานสินค้าคงคลังใช้ทั้งพนักงานขาย(ตรวจสอบสินค้าคงเหลือ) และผู้จัดการฝ่ายผลิต(จะผลิตเพิ่มขึ้นเท่าใด) สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant) สนองต่อความต้องการของผู้ใช้เพื่อตัดสินใจ สะดวกในการเข้าถึง (Accessible) ตามระดับสิทธิของผู้ใช้ ปลอดภัย (Secure) ปลอดภัยจากผู้ที่ไม่มีสิทธิเข้าใช้ Accurate ไม่มี error , GIGO garbage in garbage out Complete มี fact อย่างครบถ้วน เช่น รายงานผลการศึกษา ( ผลการเรียน รายวิชาที่ลงทะเบียน เกรดเฉลี่ยในภาคเรียนนั้น เกรดเฉลี่ยสะสม) Simple Timely Reliable ขึ้นอยู่กับวิธีการรวบรวมข้อมูลเพื่อนำเข้าสู่ระบบ Ecomomical ประหยัด เหมาะสมกับราคา Verifiable ตรวจสอบความถูกต้องได้ เช่นเทียบข้อมูลกับหลายๆแหล่ง Relevant สอดคล้องตามความต้องการของผู้ใช้เพื่อการตัดสินใจ Accessible ง่ายและสะดวกต้องการเข้าถึงตามสิทธิ Secure มีปลอดภัยจากผู้ที่ไม่มีสิทธิ

8 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การประมวลผล การจัดเก็บข้อมูล ทำได้เร็ว ช่วยสร้างทางเลือกในการแข่งขัน สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า เช่น ตรวจสอบสถานะการส่งสินค้าออนไลน์ ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุน ประสิทธิภาพ ดำเนินงานถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว สร้างทางเลือกในการแข่งขัน สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า เช่น UPS มีระบบสารสนเทศที่ลูกค้าสามารถตรวจสอบสถานภาพการส่งสินค้าทางออนไลน์ได้ สายการบินมีระบบสารสนเทศที่ติดต่อกับบริษัทตัวแทนจำหน่ายตั๋ว สนับสนุนการตัดสินใจ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุน ควบคุมการเพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพชีวิต ประหยัดเวลา มีความสะดวกรวดเร็ว เช่น จองตั๋วหนังออนไลน์ ส่งเอกสารออนไลน์ ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต เช่น จองตั๋วหนังออนไลน์ ส่งเอกสารออนไลน์

9 ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระดับของการจัดการ ประเภทของระบบสารสนเทศที่ใช้ EIS, DSS, ES ใช้ข้อมูลภายนอกองค์กร เช่น คู่แข่ง ดัชนีเศรษฐกิจ ผู้บริหารสูง (Senior managers) ประธานบริษัท กรรมการผู้จัดการ ระดับวางแผนกลุยุทธ์ ผู้บริหารระดับกลาง (middle managers) - ดูแลการทำงานของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ ผู้จัดการฝ่ายขาย, จัดซื้อ ระดับบริหารจัดการ รับนโยบายจากผู้บริการระดับูง มาวางแผน MIS, DSS รายงานยอดขาย ที่ลดลงของพนักงานขาย ผู้บริหารระดับปฏิบัติการ(operational managers) – ดูแลการทำงานของผู้ปฏิบัติการ เช่น หัวหน้างาน ระดับควบคุม การปฏิบัติงาน Worker ทำกิจกรรมประจำวัน เช่น เจ้าหน้าที่ห้องสมุด พนังงานที่เคาน์เตอร์ธนาคาร Operational Managers หรือ supervisors ควบคุมและดูแลการดำเนินงานของ workers เช่นหัวหน้างาน ผู้จัดการสำนักงาน ลักษณะของสารสนเทศที่ใช้ คือ ข้อมูลฝากหรือถอนเงินของลูกค้าธนาคาร รายงานการปฏิบัติงานของพนักงาน Middle Managers กำกับการบริหารงานของ operational manager วางแผนกลยุทธวิธีเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงมาวางแผน เช่น ผู้จัดการฝ่ายขาย ฝ่ายจัดซื้อ -> รายงานเปรียบเทียบยอดขายสินค้าของเดือนดียวกันเทียบกับปีที่แล้ว Senior manager หรือ Executive managers รับผิดชอบด้านการวางแผนกลยุทธ กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร เช่น ประธานบริษัท กรรมการผู้จัดการ-> ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภายนอก เช่น ข้อมูลคู่แข่ง ดัชนีทางเศรษฐกิจ TPS ข้อมูลฝากถอนเงิน ข้อมูลการลงทะเบียน ผู้ปฏิบัติการ-ทำกิจกรรมประจำวัน (workers) เช่น พนักงานเคาน์เตอร์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด POS Terminal, TPS ระดับปฏิบัติงาน

10 ประเภทของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล, ธนาคาร,โรงเรียน ระบบสารสนเทศจำแนกตามชื่อหน่วยงาน ระบบสารสนเทศการตลาด, ทรัพยากรมนุษย์, การผลิตและติดตั้ง ระบบสารสนเทศจำแนกตามหน้าที่ ระบบประมวลผลรายการธุรกรรม TPS ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร EIS ปัญญาประดิษฐ์และผู้เชี่ยวชาญ AI,ES ระบบสารสนเทศสำนักงาน OIS ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน ระบบสารสนเทศในปัจจุบันเป็นสารสนเทศอิงคอมพิวเตอร์ computer-based information system หรือ CBIS ซึ่งแบ่งได้หลายวิธี ในที่นี้แบ่งเป็น 3 วิธี

11 ระบบสารสนเทศจำแนกตามชื่อหน่วยงาน
องค์กรมีการดำเนินงานแตกต่างกันไป ดังนั้น ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการออกแบบให้สอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณะงานขององค์กร เช่น ระบบสารสนเทศงานบริหารโรงแรม ระบบสำรองห้องพัก ระบบจัดการห้องพัก ระบบบัญชี ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศธนาคาร ระบบสารสนเทศโรงเรียน เป็นต้น แบ่งตามลักษณะการดำเนินงานขององค์กร โดยทั่วไปเป็นระบบสารสนเทศขนาดใหญ่ที่แบ่งออกเป็นระบบสารสนเทศย่อยๆตามหน้าที่ ระบบบริหารงานโรงแรม ประกอบไปด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆ ได้แก่ ระบบสำรองห้องพัก ระบบบัญชี ระบบจัดการห้องพัก

12 ระบบสารสนเทศจำแนกตามหน้าที่
ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะหรือหน้าที่ของงานหลัก เช่น ระบบสารสนเทศจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วยระบบย่อย ๆ ได้แก่ ระบบจัดการข้อมูลพนักงาน ระบบการสรรหาและคัดเลือก ระบบฝึกอบรม ระบบประเมินผล ระบบสวัสดิการ เป็นต้น จำแนกตามหน้าที่หลัก โดยประกอบด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆ ที่เป็นกิจกรรมของงานหลัก ระบบสารสนเทศจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประกอบด้วยระบบย่อยๆ คือ ระบบจัดการข้อมูลพนักงาน ระบบสรรหาและคัดเลือก

13 ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน
Transaction Processing System : TPS CIS ( Customer Integrated System) Management Information System : MIS Decision Support System : DSS GDSS (Group Decision Support System) GIS (Geographic Information System) Executive Information System : EIS Artificial Intelligence : AI Office Information System : OIS หรือ Office Automation System : OAS

14 1.ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems: TPS)
เป็นระบบที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลผล ข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรม (Transaction) หรือการปฏิบัติงานประจำ (Routine) สนับสนุนการทำงานระดับปฏิบัติการ เช่น บันทึก รายการขายประจำวัน, รายการสั่งซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ, การฝากถอนเงินจากธนาคาร, การสำรองห้องพัก เป็นต้น

15 Customer Integrated System : CIS
พัฒนาจาก TPS โดยให้ลูกค้าทำหน้าที่ป้อนข้อมูล และประมวลผลด้วยตนเอง โดยไม่ต้องใช้พนักงาน เช่น การโอนเงินผ่าน ATM, ระบบลงทะเบียนเรียน ผ่านโทรศัพท์ ตัวอย่างระบบสารสนเทศ CIS เช่น ระบบฝาก-ถอนเงินจากเครื่อง ATM

16 ลักษณะการประมวลผลข้อมูลของ TPS
Batch Processing รวบรวมข้อมูลจากธุรกรรมไว้เป็นชุด เพื่อตรวจสอบหรือจัดเรียง ก่อนส่งไปประมวลผล การประมวลผลทำเป็นระยะๆ ตามเวลาที่กำหนด เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ เช่น การประมวลผลข้อมูลการใช้กระแสไฟฟ้า น้ำประปา โทรศัพท์ นิยมประมวลผลเดือนละครั้ง

17 เครื่องอ่าน + จัดเรียงเช็ค
ตัวอย่าง ระบบประมวลผลเช็คของธนาคาร ธุรกรรมของเช็ค Master File Update Master File เครื่องอ่าน + จัดเรียงเช็ค การประมวลผลเช็ค PRINTER Customer Statement Management Report Error (ถ้ามี) Transaction File

18 ลักษณะการประมวลผลข้อมูลของ TPS
Real-time Processing บางครั้งเรียกว่า การประมวลผลรายการแบบออนไลน์ (Online transaction processing : OLTP) ข้อมูลจากธุรกรรมจะได้รับการประมวลผลทันทีที่ป้อนข้อมูล ตัวอย่างเช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การสำรองห้องพักโรงแรม การฝากถอนเงินจากเครื่องอัตโนมัติ (ATM)

19 Intermediate input ธุรกรรม Master File การประมวลผล PRINTER
ตัวอย่าง การเบิกเงินจาก ATM Intermediate input ธุรกรรม Master File การประมวลผล PRINTER Update Master File ใบบันทึกรายการ

20 2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems: MIS)
สนับสนุนการทำงานของผู้บริหารระดับกลางในการนำเสนอรายงาน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเฉพาะด้าน ข้อมูลในอดีต ช่วยงานด้านวางแผน ควบคุม ตัดสินใจ นำข้อมูลจาก TPS มาประมวลผล ลักษณะของสารสนเทศที่ได้จะเป็นรายงานสรุปค่าสถิติต่าง ๆ

21 ประเภทของรายงาน รายงานที่จัดทำตามระยะเวลาที่กำหนด (Periodic reports)
กำหนดเวลาและรูปแบบไว้ล่วงหน้า เช่น จัดทำทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน หรือ ทุกปี เช่น รายงานยอดขายของพนักงาน รายการชำระเงินให้กับ supplier รายงานสรุป (Summarized reports) รายงานสรุปการดำเนินงานโดยภาพรวม แสดงในรูปจำนวนและกราฟเปรียบเทียบ

22 ประเภทของรายงาน (ต่อ)
รายงานที่จัดทำตามเงื่อนไขเฉพาะ (Exception reports) จัดทำเมื่อมีเงื่อนไขเฉพาะไม่อยู่ในกฎเกณฑ์การทำรายงานปกติ เช่น รายงานแสดงสินค้าที่มียอดขายต่ำกว่าที่คาดหวัง เป็นต้น รายงานที่จัดทำตามต้องการ (Demand reports) รายงานที่จัดทำตามความต้องการ จัดทำเมื่อผู้บริหารต้องการ เช่น รายงานแสดงจำนวนรายชื่อนักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ยต่ำกว่า 2.00 เพื่อนำไปใช้จัดกลุ่มการสอนเสริม เป็นต้น

23 3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems: DSS)
เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เพื่อให้ตัดสินใจการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง (do the right things) ขณะที่ TPS และ MIS ช่วยให้ดำเนินการได้ถูกต้อง (do things right) มีความยืดหยุ่นสูง อาจมีการใช้ Model ในการตัดสินใจ ข้อมูลที่นำมาใช้ ใช้ฐานข้อมูลทั้งภายใน(ข้อมูลการขาย ข้อมูลการเงิน) และภายนอกองค์กร (อัตราดอกเบี้ย ราคาวัตถุดิบ๗ ลักษณะสำคัญของ DSS คือ ตอบสนองอย่างรวดเร็วในการตัดสินใจ ควรออกแบบให้มีการตอบโต้กับผู้ใช้ (interactive) ปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลในอดีตและปัจจุบันของ TPS และข้อมูลภายนอกองค์กรเรียกว่า OLAP

24 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
TPS ข้อมูลภายนอก ฐานข้อมูล DSS DSS Software เช่น OLAP

25 แนวความคิดเกี่ยวกับ OLAP
ฐานข้อมูล TPS แหล่งข้อมูลภายใน แหล่งข้อมูลภายนอก จากภายนอก คลังข้อมูลสินค้า OLAP

26 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม
(Group Decision Support System: GDSS) เป็นประเภทหนึ่งของ DSS แต่ใช้สำหรับ ผู้ตัดสินใจ เป็นกลุ่มสนับสนุนการแลกเปลี่ยน กระตุ้นระดม ความคิด และแก้ปัญหาขัดแย้งภายในกลุ่ม ตัวอย่างการนำ GDSS ไปประยุกต์ใช้ เช่น การ ประชุมทางไกล การลงคะแนนเสียง และการ สอบถามความคิดเห็น เป็นต้น

27 ตัวอย่าง (Group Decision Support System: GDSS)

28 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS)
จัดเก็บและจัดการกับสารสนเทศที่เป็นแผนที่ Digital ซึ่งระบุที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น พิจารณา การกระจายตัวของประชาชน หรือทรัพยากรตาม ภูมิศาสตร์ การตรวจสอบเส้นทางการขนส่งสินค้า ประกอบด้วย ฐานข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อแสดงผลในรูปสารสนเทศ ฐานข้อมูลแผนที่ โปรแกรมที่นำเสนอสารสนเทศบนแผนที่ดิจิตอล

29 ตัวอย่างระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS)

30 4.ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS)
สนับสนุนการทำงานผู้บริหารระดับสูง เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้ม ช่วยวางแผนกลยุทธ์ ช่วยควบคุมเชิงกลยุทธ์ มีความยืดหยุ่นคล่องตัวสูง สามารถกำหนดมุมมองในการเข้าถึงได้สารสนเทศได้ มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานที่ออกแบบมาเพื่อให้ผู้บริหารใช้งานง่าย EIS สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลภายในและภายนอกองค์กร นำเสนอสารสนเทศในรูปแบบรายงาน ตาราง กราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้ผู้บริหารเข้าใจง่ายและประหยัดเวลา

31 ตัวอย่างระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
(Executive Information System: EIS)

32

33 5.ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems: ES)
ปัญญาประดิษฐ์ เป็นความพยายามพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานได้เหมือนมนุษย์ หรือเลียนแบบการทำงานของมนุษย์ AI มีหลายสาขาวิชา เช่น การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ ระบบการเรียนรู้ เครือข่ายเส้นประสาท และระบบผู้เชี่ยวชาญ

34 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems: ES)
ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบที่รวบรวมและจัดเก็บความรู้และประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อช่วยในการหาข้อสรุปและคำแนะนำให้กับผู้ใช้ ตัวอย่างการนำ ES ไปประยุกต์ใช้ เช่น การรักษาโรคของแพทย์ การแนะนำการผลิตสินค้าแก่โรงงานอุตสาหกรรม การทำงานของบริษัทบัตรเครดิต(การอนุมัติการสมัครและวงเงินการใช้เครดิต เป็นต้น)

35 องค์ประกอบของ ES คำถาม คำแนะนำ/คำอธิบาย User User Interface Inference
Knowledge Base (ฐานความรู้: ข้อเท็จจริงที่ เป็นความรู้ หรือความเชี่ยวชาญ User Inference Engine (กลไกการอนุมาน) User Interface (ส่วนติดต่อกับผู้ใช้) คำถาม คำแนะนำ/คำอธิบาย

36 6.ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System: OIS)
ระบบสารสนเทศสำนักงาน เป็นระบบที่นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร เช่น การจัดทำเอกสาร รายงาน จดหมายธุรกิจ การส่งข้อความ การบันทึกตารางนัดหมาย การค้นหาข้อมูลจากเว็บเพจ ระบบสำนักงานอัตโนมัติแบ่งออกได้เป็น 5 ระบบ ระบบจัดการเอกสาร (Word Processing, Copying system) ระบบจัดการข่าวสาร ( , voice mail, Facsimile) ระบบทำงานร่วมกัน/ประชุมทางไกล (Teleconferencing , Telecommuting) ระบบการประมวลภาพ (image processing , Multimedia system) และ ระบบจัดการสำนักงาน (Groupware เช่น lotus note/domino , MS exchange)

37 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ
สำหรับผู้บริหาร (EIS) (รับข้อมูลจากระดับที่ต่ำกว่า) เพื่อการจัดการ (MIS) สำนักงาน (OIS) ระบบสนับสนุน การตัดสินใจ (DSS) ระบบประมวลผล รายการข้อมูล (TPS) เป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐาน


ดาวน์โหลด ppt ระบบสารสนเทศ (Information System).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google