ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วิชาบริหารงานก่อสร้าง
CASHFLOW
2
CASHFLOW Cash Flow คือแผนการใช้เงิน สำหรับโครงการก่อสร้าง
จะช่วยเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการก่อสร้างทราบว่า เวลาใด จะต้องใช้เงินในโครงการก่อสร้างเท่าไร หมุนเวียนอย่างไร สามารถจัดการการเงินได้ทัน ลดความเสี่ยงต่อการขาดทุน Cash Flow เริ่มจากการประมาณราคาและกำหนดการ รับจ่ายเงิน
3
Cost Estimation การประมาณราคาที่ถูกจัดทำขึ้นเพื่อการประกวดราคาตามปกติ จะมาจากราคาต่อหน่วยค่าวัสดุและค่าแรงงานของวัสดุแต่ละชนิด ซึ่งอาจจะมาจากประสบการณ์และฐานข้อมูลเดิมของผู้ประมาณการ การประมาณราคาเพื่อการควบคุมงานก่อสร้าง (เวลาและค่าใช้จ่าย) จะคำนวณมาจาก Work Package นั่นคือระดับล่างสุดใน Work Breakdown Structure ซึ่งค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าเครื่องจักร จะถูกแยกโดยละเอียด เป็นเงินที่ต้องจ่ายจริง
4
Detail Estimation Detail Estimation Start with WBS Direct Cost
Indirect Cost Man (Labor) Machine (Equipment) Material (Material) Management (Overhead) Temporary Transportation Storage Mark-up (VAT, Taxes, Profit, Insurance, etc)
5
Material Cost Cost = unit Price x Quantity KEYS
Fluctuation of unit price Quantity of Material use Combination of materials Example: Activity A Concrete 10m3 = 2,000x100 = 20,000 Steel 1 ton = 1,500x 1 = 1,500 Formwork = 1,000 x300 =300,000 Material Cost = 321,500 Baht
6
Labor Cost Cost = Unit price x Duration x Numbers
Duration depends on productivity rate Example Activity A 20 Carpenters for 10 Days 300 Baht/man/Day 10 Labors for 10 Days 150 Baht/Man/Day Labor Cost = (20x10x300)+(10x10x150) = 60, ,000 = 75,000 Baht O.T Rate Bonus Rate
7
Labor Cost Productivity Rate examples
1 labor 3 sq.m. brick wall per day 1 Carpenter 1 footing formwork/day Subcontract Rate examples 300 Baht/1 Door installation 50 Baht/1 meter installation 3 Baht/1 Kg of Steel reinforcement Normally subcontract rate is more expensive.
8
Equipment Cost O & O Cost O1 - Owning Cost Example
You bought A Honda 600,000 Baht and sold it 5 years later at 300,000 Baht You paid 600, ,000 = 300,000 for 5 years Approximately; You do pay 300,000/365/5 = Baht/Day owning this Honda *** Do not forget interest, taxes, inflation, etc.
9
Equipment Cost O2 - Operating Cost Fuel Cost Maintenance Cost
Operator Cost Example The Honda’s fuel 100 baht/day Maintenance cost Baht/Year Tires cost 3000 Baht/Year Operator 5000 Baht/Month Operating Cost for Honda = (100) + (10000/365) + (3000/365) + (5000*12/365) = 300 Baht /Day Total Cost = = Baht/Day = /8 = 58.5 Baht/Hr. => Use for estimation
10
Equipment Cost An example
You use an excavator for a trench excavation 100m3 1 round of operation the excavator can take 0.1 m3 1 round of the operation takes 30 seconds (Load - Turn-Dump-Turnback) 1 Hour productive time = 40 min 1 Hour, the excavator can produce = 80 rounds * 0.1 m3 = 8 m3 To finish the excavation, it takes 100/8 = 12.5 Hours Equipment Cost = 12.5*58.5 (assume) = Baht
11
Common Errors in Cost Estimation
Forget items in WBS Poor productivity estimation Some hidden cost and risk Temporary works Wrong unit price, Market condition Wrong quantity estimation, Human error Missing in quality of work Transportation
12
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการจัดทำ Cash Flow
รูปแบบการจ่ายเงินต้นทุน เช่น ค่าแรงคนงานจ่ายเป็นรายเดือน ต้องจ่ายทุกสิ้นเดือน วัสดุ เช่น ค่าวัสดุได้เครดิตจากร้านค้า 30 วัน หลังได้รับของ เป็นต้น ค่าเครื่องจักรอาจต้องจ่ายเงินค่าเช่าหลังจากงานเสร็จ จ้างเหมาช่วง จ่ายเมื่องานเสร็จทันที เป็นต้น งวดงานที่ได้ทำสัญญาไว้กับเจ้าของงาน โดยทั่วไป ขอเบิกงวดเป็นรายเดือน
13
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการจัดทำ Cash Flow
เวลาหลังมอบงานกี่วันที่จะได้รับเช็ค และวันที่เช็คสามารถขึ้นเงินได้ หักค่าประกันผลงานเท่าไร 5% หรือ 10% กำไรที่ได้รับหากทำตามแผน การหักค่างานเพิ่มลด การหักค่าวัสดุที่เจ้าของซื้อเอง ดอกเบี้ยเงินกู้ (ถ้ามี) รายละเอียดปลีกย่อยขึ้นกับข้อตกลงในสัญญา
14
ขั้นตอนการจัดทำ Cash Flow
การเริ่มต้นมีลักษณะเหมือน Barchart แต่พิจารณาการจ่ายเงินของแต่ละกิจกรรม จากตัวเลขราคาตัวเดียวในการสร้าง Barchart ให้แยกออกเป็น ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าเครื่องจักร ค่าดำเนินงาน ค่างานชั่วคราว ฯลฯ เพื่อพิจารณาตามลักษณะการจ่ายเงิน การเบิกงวดให้พิจารณาจากสัญญา
15
ขั้นตอนการจัดทำ Cash Flow
ตัวอย่างเช่น งานปักผัง 1 สัปดาห์ บริเวณ 5000 บาทเป็นงานจ้างเหมา ต้องลงการจ่ายเงินทันทีเมื่องานเสร็จ หากเป็นคนงานของบริษัทเอง ค่าจ้างทีมปักผัง 3 คนคนละ 200 บาทต่อวันเป็นเวลา 1 สัปดาห์ เป็นเงินต้นทุน (Cost) 6x700 = 4200 บาท เงินจำนวนนี้จะจ่ายให้คนงานเมื่อเวลาสิ้นเดือน และจะมีกำไร 800 บาท ซึ่งจะถูกเรียกเก็บพร้อมกับงานอื่นๆในงวดแรก ตามสัญญาตามที่ตกลงกับเจ้าของงาน
16
ขั้นตอนการจัดทำ Cash Flow
ทำการพิจารณากำหนดการจ่ายเงินของแต่ละรายการ บันทึกข้อมูลการจ่ายเงินลงในตาราง ทีละรายการ ทีละเดือน พิจารณากำหนดการเบิกงวดงานตามสัญญาว่างานส่วนใดจะได้รับเงินเท่าใด เมื่อไร บันทึกข้อมูลลงในตาราง ลักษณะเดียวกับรายจ่าย คำนวณผลรวมรับจ่ายแต่ละเดือน หาเงินที่ควรต้องมีสำรองจ่าย และยอดเงินหมุนเวียน ดังตาราง วาดกราฟ Cash Flow ดังตัวอย่าง
17
Cash Flow Cash Flow ที่ดี จะทำให้ท่านทราบว่าเวลาใดควรมีเงินหมุนเวียนอย่างน้อยเท่าใด หากเงินหมุนเวียนสะสมเป็นลบมากเกินไป ท่านอาจจะหาทางขอปรับแผนงานก่อสร้าง ขอปรับสัญญาการเบิกงวดให้ถี่ขึ้น หรือติดต่อขอเครดิตจาก Supplier ให้นานขึ้น เป็นต้น จะเห็นได้ว่าในช่วงการรับจ่ายเงินปลายเดือนนั้น ถึงแม้ Cash Flow จะเป็นบวก แต่อาจจะมีช่วงเวลาสั้นๆที่ท่านจะต้องจ่ายเงินค่าใช้จ่าย ก่อนที่จะรับเงินค่างวดจากเจ้าของงานมา(หรืออาจจะเสียเวลาธุรการ 1-2 วัน) ดังนั้นจึงควรพิจารณาเงินที่ต้องจ่ายมากที่สุดในกรณีที่ท่านอาจได้รับเงินค่างวดช้า จะแสดงในช่องเงินที่ควรต้องมีสำรอง หลังจากได้รับเช็คแล้วยอดเงินใน Cashflow จะถูกบวกเพิ่มกลับขึ้นไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.