งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่
นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

2 ความเป็นมา ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว หมายถึง
ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว หมายถึง ผู้ที่มีอาการปวดหลังเนื่องจากพยาธิสภาพที่บริเวณกระดูกสันหลัง ตั้งแต่ระดับบั้นเอวถึงบริเวณกระเบนเหน็บ (L-1 ถึง S-1) ไม่ว่าปวดเฉียบพลันหรือปวดเรื้อรัง ภาวะจำกัดความสามารถ หมายถึง การที่บุคคลมีการปฏิบัติกิจกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวันที่เป็นปกติได้ลดลง หรือปฏิบัติได้ไม่เต็มที่ พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การแสดงออกของบุคคลที่ตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้นด้านสุขภาพทั้งขณะที่มีสุขภาพดีและขณะเจ็บป่วย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการตัดสินใจไปใช้บริการเมื่อเจ็บป่วย

3 ความเป็นมา (ต่อ) ผลกระทบ : ปวดหลังส่วนเอว
: ปวดหลังส่วนเอว เคลื่อนไหวช้าลง ข้อจำกัด (นั่ง นอน ยืน เดิน อาบน้ำ-แต่งตัว งานบ้าน ยกของ เดินทาง) ดูแลตนเอง พฤติกรรมสุขภาพ ดี (ถูกต้อง) ไม่ดี (ไม่ถูกต้อง) หายปวด ปวดหลังซ้ำๆ เป็นๆ หายๆ (เรื้อรัง) % สุขภาพดี พิการ (Brown et al. 1998; CA Mustard, 2005)

4 ความเป็นมา (ต่อ) ปวดหลังส่วนเอว (Low Back Pain)
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพบบ่อยที่สุดของโรคระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ ทำให้การเคลื่อนไหวลดน้อยลง มีข้อจำกัดมากขึ้น % ปวดเรื้อรัง ถ้าไม่รักษาอาจพิการ (Brown et al. 1998; CA Mustard, 2005) 8 ใน 10 พบในวัยผู้ใหญ่ (Borenstein, 1995; CA Mustard, 2005) พบทุกอาชีพที่ทำงานในอิริยาบถซ้ำๆ ก้มๆ เงยๆ นั่ง/ยืนนานๆ เช่น เกษตรกรรม พนักงานขับรถ คนทำงานในสถานประกอบการ/โรงงาน งานให้บริการ (พยาบาล ทันตแพทย์)(AH Myer, 1999; สุสัณหา ยิ้มแย้ม, 2550 ฯลฯ) ความชุก : Europe ~ % (Chopra et al., 2002) ไทย 42.1% , (จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ, 2539)

5 วัตถุประสงค์ 1 2 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่
เพื่อศึกษาภาวะจำกัดความสามารถของ ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 1 เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของ ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

6 วิธีการศึกษา 2 รูปแบบการศึกษา analytic cross-sectional study
สถานที่ศึกษา 20 หมู่บ้าน 10 ตำบล 5 อำเภอ จ.เชียงใหม่ (จอมทอง เชียงดาว สันทราย สันป่าตอง และเมือง) 2 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

7 การสุ่มพื้นที่ สุ่มอำเภอ --> 5 อำเภอๆ ละ 2 ตำบลๆ ละ 2 หมู่บ้าน
1. เมือง 2. สันป่าตอง 3. เชียงดาว 4. จอมทอง 5. สันทราย โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

8 วิธีการศึกษา (ต่อ) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนเอว โดยผ่านการคัดกรองจากโครงการวิจัยเรื่องความชุกของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 484 คน ระหว่างเดือนตุลาคม 2551-กันยายน 2552 คัดออก 22คน ( 462) - ตั้งครรภ์ - ปวดหลังระดับ C, T พิการ (กาย, การได้ยิน/สื่อสาร, จิต) 2 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

9 สรุปพื้นที่และจำนวนตัวอย่าง
90 คน 30 คน 70 คน 24 คน 38 คน 42 คน 57 คน 27 คน 40 คน 66 คน

10 วิธีการศึกษา (ต่อ) เครื่องมือวิจัย
1. แบบประเมินข้อจำกัดความสามารถของออสเวสต์ทรี (Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) ที่พัฒนาเป็นฉบับภาษาไทยโดย ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ และคณะ (2549) (reliability = 0.98 ) Try out ---- reliability = 0.84 2. แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ที่พัฒนาจากแนวคิดของ Pender (1996) Try out ---- reliability = 0.92

11 แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี
(Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire)

12 แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี
(Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire)

13 แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี
(Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire)

14 วิธีการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะคำตอบ คะแนน
ลักษณะคำตอบ คะแนน กิจกรรมที่ทำได้เอง ไม่รู้สึกปวด กิจกรรมที่ทำได้เอง แต่รู้สึกปวดเล็กน้อย พอทนได้ กิจกรรมที่ทำได้เองบางส่วนและรู้สึกปวดเล็กน้อย ทานยาก็หาย 2 กิจกรรมที่ทำได้เป็นส่วนน้อย รู้สึกปวดค่อนข้างมาก ทานยาแล้วดีขึ้น กิจกรรมที่ต้องขอความช่วยเหลือ รู้สึกปวดมาก ทานยาแล้วดีขึ้นเป็นบางครั้ง ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ปวดรุนแรงมากทานยาแล้วไม่หาย 5

15 วิธีการศึกษา (ต่อ) การแปลผล คะแนน 0-20 % = minimal disability
คะแนน % = moderate disability คะแนน % = severe disability คะแนน % = crippled disability คะแนน % = bed-bound disability (M Douglas & DC Gillard. The Oswestry Index. Spine 2000) คะแนนสูง (41-100)=ภาวะจำกัดสูง ความสามารถทำกิจกรรมต่ำ คะแนนต่ำ (0-40) =ภาวะจำกัดต่ำ ความสามารถทำกิจกรรมสูง

16 แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง (Health-promoting life style profile II : HPLP_II, Pender, 1996: 134 )

17 วิธีการศึกษา (ต่อ) การแปลผล
= พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่ดี/ไม่ถูกต้อง = พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองปานกลาง = พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดี

18 วิธีการศึกษา (ต่อ) 2 สถิติที่ใช้ t-test, one-way ANOVA,
Mann –Whitney U test, Kruskal-wallis test clustered poisson regression โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 2

19 ผลการศึกษา ภาวะจำกัดความสามารถ จำแนกตามเกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะ จำนวน
ภาวะจำกัดความสามารถ จำแนกตามเกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะ จำนวน ร้อยละ ภาวะจำกัดความสามารถ ไม่รุนแรง (0-40 %) 444 96.1 รุนแรง ( %) 18 3.9 * ค่าเฉลี่ย = % ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =11.43 ค่าต่ำสุด = 0 ค่าสูงสุด =70% กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 96.1 มีภาวะจำกัดไม่รุนแรงหรือ minimal to moderate disability

20 ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. เพศ ชาย 186 13.76 1.21 0.087 หญิง 276 27.60 1.09 อายุ 16 – 25 ปี 23 8.17 6.20 0.018 26 – 35 ปี 67 13.94 1.16 36 – 45 ปี 97 13.70 1.07 46 – 60 ปี 275 15.39 1.18 เพศหญิง มีภาวะจำกัดสูงกว่าเพศชาย แต่ไม่มีนัยสำคัญ ผู้ที่มีอายุระหว่าง ปี มีภาวะจำกัดสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ 2

21 ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. ดัชนีมวลกาย น้อยกว่าปกติ ( ) 26 15.00 1.64 0.125 ปกติ ( ) 285 13.55 1.04 มากกว่าปกติ ( ) 151 16.09 1.21 ที่อยู่ (อำเภอ) จอมทอง 80 13.06 1.01 0.001 เชียงดาว 92 17.04 1.28 สันทราย 105 11.83 1.06 สันป่าตอง 81 14.77 1.31 เมือง 104 16.52

22 ผลการศึกษา (ต่อ) ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P-value S.D. อาชีพ
กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังน้อย 32 16.37 1.52 0.843 กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังปานกลาง 110 14.40 1.22 กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังมาก 320 14.29 1.07 ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ น้อยกว่า 5 ปี 127 13.59 1.04 0.125 5 – 10 ปี 103 13.55 1.09 มากกว่า 10 ปี 232 15.34 0.75 ระยะเวลาทำงานต่อวัน (ชั่วโมง) ≤ 8 325 14.33 11.36 0.747 > 8 137 14.79 11.61 ปัจจัยด้านอาชีพ ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ และระยะเวลาทำงานต่อวัน ไม่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว

23 ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. ระยะเวลาที่ปวด น้อยกว่า 3 เดือน 26 15.00 1.64 0.125 3-6 เดือน 285 13.55 1.04 มากกว่า 6 เดือน 151 16.09 1.21 ระดับความเจ็บปวด ปวดน้อย 116 9.65 9.08 0.001 ปวดปานกลาง 252 14.53 1.09 ปวดมาก 94 20.21 1.27 ระดับความเจ็บปวด มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว โดยที่กลุ่มที่ปวดมาก จะมีภาวะจำกัดสูงกว่ากลุ่มอื่น อย่างมีนัยสำคัญ

24 ผลการศึกษา (ต่อ) ลักษณะ ความแตกต่าง () 95 % CI P-value อายุ
ปี - 26 – 35 ปี 3.09 0.050 36 – 45 ปี 3.17 0.001 46 – 60 ปี 5.03 0.002 ระดับความเจ็บปวด ปวดน้อย ปวดปานกลาง 4.61 ปวดมาก 10.26 2

25

26 ผลการศึกษา (ต่อ) เมื่อพิจารณาตัวแปรหลายตัวพร้อมๆ กัน มีเพียง 2 ลักษณะคือ ตัวแปรกลุ่มอายุและระดับความเจ็บปวด เท่านั้น ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะจำกัดความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เมื่อใช้กลุ่มอายุ ปี เป็นฐาน พบว่า - กลุ่มอายุ 26 – 35 ปี มีภาวะจำกัดความสามารถ เพิ่มขึ้น 3 คะแนน เช่นเดียวกับกลุ่มอายุ 36 – 45 ปี - กลุ่มอายุ 46 – 60 ปี มีภาวะจำกัดความสามารถเพิ่มขึ้น 5 คะแนน

27

28 ผลการศึกษา (ต่อ) และ เมื่อใช้ระดับความเจ็บปวดที่มีระดับความรุนแรงน้อยเป็นฐาน พบว่า - กลุ่มที่มีระดับความเจ็บปวดปานกลาง มีภาวะจำกัด ความสามารถเพิ่มขึ้น 4 คะแนน - กลุ่มที่มีระดับความเจ็บปวดมาก มีภาวะจำกัด ความสามารถเพิ่มขึ้น 10 คะแนน

29 ผลการศึกษา (ต่อ) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว
องค์ประกอบ แปลผล ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ 2.29 0.38 ปานกลาง 2. ด้านการทำกิจกรรม 2.03 0.29 3. ด้านโภชนาการ 2.42 0.27 ดี 4. ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2.51 0.39 5. ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ 2.54 0.31 6. ด้านการจัดการกับความเครียด 2.58 0.30 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม 2.39 0.19 S.D.

30 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการศึกษา (ต่อ) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลพฤติกรรมสุขภาพ

31 สรุปผล 1 96.1 % ของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัด
เชียงใหม่ มีภาวะจำกัดความสามารถอยู่ในระดับ ไม่รุนแรง (minimal to moderate disability) 1 ภาวะจำกัดความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ จะเพิ่มขึ้นตามอายุ และระดับของอาการปวดหลัง 2 - พฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี - พฤติกรรมสุขภาพไม่ดี  posture +poor exercise 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

32 ข้อเสนอแนะ ควรให้สุขศึกษาหรือรณรงค์ประชาชนวัยผู้ใหญ่
ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะปวดหลัง - การหยิบของจากพื้นที่ถูกวิธี ย่อเข่า ออกกำลังกาย บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและหลัง เพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรง โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ จัดกิจกรรมต่างๆ โครงการอบรมให้ความรู้สู่ประชาชนเรื่อง “ปวดหลัง..ป้องกันได้” ให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วยและญาติ “Spine Clinic” โครงการเยี่ยมบ้าน

33 กิตติกรรมประกาศ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
สนับสนุนเงินงบประมาณ ปี 2552 แพทย์หญิงผุสดี ธรรมานวัตร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร. ร้อยเอก นายแพทย์ชยันตร์ธร ปทุมานนท์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.นิ่มอนงค์ งามประภาสม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ถนัด บุญไชย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย จ.เชียงใหม่ คุณอนงค์ ขันคำ คุณณิชาภา หน่อตุ้ย โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

34 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google