ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การปฏิสนธิ (Fertilization)
อ.รุ่งอรุณ พุ่มเจริญ
2
Pre test ระยะblastocyst หมายถึงระยะใด Blastomere คืออะไร
สายสะดือมีการพัฒนามาจากส่วนใด Inter villous space คือส่วนใด ฮอร์โมนที่สร้างจากรกมีอะไรบ้าง Ectoderm มีการพัฒนาไปเป็นส่วนใด น้ำคร่ำมีประโยชน์อย่างไร
3
Pre test รกเจริญมาจากส่วนใด 9. เยื่อหุ้มทารกเจริญมาจากส่วนใด
9. เยื่อหุ้มทารกเจริญมาจากส่วนใด 10.Hartman’s sign คืออะไร 11.HCG ที่สร้างจาก corpus luteum จะมีระดับสูงสุดเมื่อใด 12. Decidua vera คือส่วนใด
4
Fertilization of the ovum occurs within the first 24-48 hours after ovulation.
The life of spermatozoa is about hours.
6
Only one sperm can penetrate the ovum by release hyaluronidase that dissolves the layer of cells protecting the ovum. Immediately upon entering the ovum, the chromosomal material of the ovum and spermatozoa fuse resulting in a zygote.
8
About 3-4 days, the zygote travels along the fallopian tube toward the uterus for implantation.
During the time , mitotic cell division, or cleavage , occurs.
12
The first cleavage is complete at about 24 hours after fertilization, and this process continues once every 22 – 23 hours. Morula continues to multiply about 4 days until becoming the blastocyst.
13
On the seventh day after fertilization, the zona pellucida dissolve and disappear.
This permit the trophoblast to implanted into the endometrium of the uterine wall. Syncytiotrophoblast Cytrotophoblast
14
EM=extraembryonic mesoderm
16
วันที่25 ของรอบระดู แสดงภาพกำลังบุกรุกเยื่อบุโพรงมดลูก
18
placenta
19
พัฒนาการของรก เจริญมาจาก trophoblast Chorion frondosum
Cotyledon =main stem villi + กิ่งก้านสาขา อยู่ใน intervillous space Placenta septum ( decidua septum = compacta+ spongisa)
20
หน้าที่รก Nutrition Respiration Excretory Glycogenic Barrier Endocrine
21
Placenta The placenta occur during 3rd week until late in 8th month
The placenta acts as the lungs kidneys Liver Endocrine Digestive Immune system
22
ลักษณะรกปกติ Maternal surface Fetal surface
23
รกผิดปกติ Placenta succenturiata Placenta bipartite Placenta spurium
Placenta membranacea Placenta circumvallata ความผิดปกติด้านน้ำหนักของรก : มากเกินหรือน้อยเกิน
24
ฮอร์โมนที่สร้างจากรก
Steroid hormone Estrogen &Progesterone Protein hormone HCG- ดำรง corpus luteum –UPT +ve HPL- CHO& FAT metabolism – insulin antagonist,เคลื่อนย้าย free fatty acid, ช่วยการเจริญของเต้านมและเตรียมการสร้างน้ำนม
25
Steroid hormone Estrogen:Estriol hyperplasia&hypertrophy of ut. Muscle
Collagen tissue ที่ cervix soft มีการดึงที่เต้านม Striae gravidarum ส่งเสริมฤทธิ์ กับโปรเจสเตอโรน ช่วยการเจริญของเต้านม serum albumin ต่ำลง เพิ่ม TBG & Fibrinogen
26
Steroid hormone Progesterone : Pregnandiolพบปริมาณสูงมาก
Maintain pregnancy endometrium หนาขึ้นและทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัวรวมถึงกล้ามเนื้อเรียบอื่นๆเช่นระบบทางเดินอาหาร มีผลต่อ CNS : ง่วงซึม สมาธิลดลง เหนื่อยง่ายในไตรมาสที่หนึ่ง Hyperventilation มีผลต่อmetabolism : สะสม Fat ตามลำตัวและการเจริญของเต้านม, Basal body temp เพิ่มขึ้น มีผลต่อE’lyte: ขับ Na ออกจากร่างกาย
27
AMNIOTIC FLUID คุณสมบัติ เป็นด่างอ่อนๆ PH 7.11- 7.22
สร้างจากมารดาและทารก เป็น transudateของ serum แม่ที่ซึมผ่านเยื่อหุ้มเด็ก เป็น secretionที่หลั่งจาก amnion มาจากปัสสาวะทารก ปริมาณ มากขึ้นตามอายุครรภ์ 12 wk= 50 ml, 20 wk=850ml, 38wk=1000 ml
28
น้ำคร่ำ หน้าที่ Movement Temp. Prevent danger Ferguson’s reflex
Decrease pressure during labor
29
พัฒนาการของเยื่อหุ้มทารก
Chorion เจริญมาจาก trophoblast Amnion เกิดจากการแยกชั้นของcytotrophoblast นับตั้งแต่ไข่พัฒนามาได้ 7-8 วัน หรือเกิดจากการแผ่ขยายออกมาของfetal ectoderm Decidua vera เชื่อมกับ decidua capsularis เกิดเป็นวงขาวโดยรอบขอบจานรกเรียกว่า closing ring of wrinkle waldeyer สัปดาห์ที่
30
10 วันหลังปฏิสนธิ
31
The outer layer of cell (trophoblast) will form to be the placenta, while the inner cell mass develops into embryo.
32
The blastocyst embryoblast (inner cell mass) Trophoblastchorion,
Ectoderm skin, hair, nails, central nervous system Mesoderm heart, muscle, skeleton, kidney, blood circulation, urinary tract, spleen Endodermgastro-intestinal tract, lung, tongue, thyroid, liver, pancreas Trophoblastchorion, chorionic villi formed placenta
35
พัฒนาการของสายสะดือ เจริญมาจาก Mesoderm ( body stalk)
Mesoderm เจริญมาจาก cytotrophoblast tertiary villi ประกอบด้วยเส้นโลหิต 3 เส้น ( V1, a2)
36
ตำแหน่งสายสะดือ Central insertion Lateral insertion
Marginal insertion or battle dore Membranous or vellamentosa insertion
37
การไหลเวียนของเลือดในรก
40
ระบบหมุนเวียนของเลือดทารกในครรภ์
43
reference วราวุธ สุมาวงศ์ คู่มือการฝากครรภ์และการคลอด พิมพ์ครั้งที่ 14, มหาวิทยาลัยมหิดล 2533 : แพทย์หญิง สุรีย์ สิมารักษ์ นายแพทย์ ธีระ ทองสง. การตั้งครรภ์และการคลอด พิมพ์ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535 :1-79 ธนพรและคณะ เอกสารประกอบคำสอนรวมเล่ม วิชา การพยาบาลครอบครัวที่มีการเจริญพันธุ์ เล่ม 1 มหาวิทยาลัยคริสเตียน 2547. Lowdermilk et al Maternuty Nursing Fifth Edition Mosby 1999.
44
reference 5. Erna E. Ziegel Obstetric Nursing Eight Edition 1984.
45
คำถาม ?
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.