ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO
กับ GEOUTM ซึ่งเป็นโปรแกรมในระบบปฏิบัติการ DOS
2
เนื้อหา โปรแกรม GEOTRANS2 โปรแกรม GEOUTM, UTMGEO
4
โลก สัณฐานของโลก จะเป็นทรงกลมมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 12,700 กิโลเมตร
5
GEOID (พื้นผิวทะเลปานกลาง)
8
ความสัมพันธ์ของ 3 พื้นผิว
9
พารามิเตอร์ของรูปทรงรีอ้างอิง (WGS-84)
10
พื้นหลักฐาน รูปทรงรี a (กึ่งแกนยาว) f (ความแบน)
Indian Everest / WGS WGS /
12
การฉายแผนที่แบบ UTM
14
การฉายแผนที่แบบ UTM การฉายแผนที่แบบ UTM (Universal Transverse Mercator) คือการฉายแผนที่แบบ Tranverse Mercator ที่มีข้อกำหนดการฉายดังนี้ - กำหนดพื้นที่การฉายเป็น 60 โซน โซนละ 6 องศาทางตะวันออก- ตะวันตก - ความกว้างตามแนวตะวันออก-ตก ข้างละ 3 องศาลองจิจูดจาก Central Meridian - การให้หมายเลขโซน เริ่มต้นด้วยโซนที่ 1 มี Central Meridian อยู่ที่ 177° W โซนที่ 2 อยู่ถัดออกไปทางตะวันออกของโซนที่ 1 มี Central Meridian อยู่ที่ 171° W เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนครบทั้งโลก
15
การฉายแผนที่แบบ UTM (ต่อ)
- พื้นที่ประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในโซนที่ 47 (Central Meridian 99 ° E)และทางตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมทั้งจังหวัดตราด และบางส่วนของจันทบุรีอยู่ในโซนที่ 48 (Central Meridian 105 ° E) - จุดที่เส้นเมริเดียนกลางตัดกับเส้นศูนย์ศูนย์สูตร เรียกว่า ศูนย์กำเนิด - ค่าพิกัดของศูนย์กำเนิดเป็นค่าสมมุติ ในซีกโลกเหนือ - ค่าพิกัดสมมุติทางเหนือ ( false northing ) = เมตร - ค่าพิกัดสมมุติทางตะวันออก ( false easting) = 500, เมตร - หน่วยของค่าพิกัดเป็นเมตร - Scale Factor ที่ Central Meridian เป็น
16
โปรแกรม GEOTRANS V2.3
17
ข้อดี ใช้ได้กับทุกระบบพิกัด
ข้อจำกัด ความถูกต้องประมาณ 1 เมตร
18
3) การใช้โปรแกรม UTMGEO75, GEOUTM75
19
ไฟล์ข้อมูล GEOUTM75
20
GEOUTM75
21
ไฟล์ข้อมูล UTMGEO75
22
UTMGEO75
23
1) การแปลงค่าพิกัด UTM โดยหาจากสูตรในแผนที่ L7018
24
แผนที่ 1/50,000 ชุด L 7018
26
ข้อดี สูตรแบบง่าย EIND ≈ EWGS m. NIND ≈ NWGS m. ข้อจำกัด ใช้ได้กับเฉพาะระวาง ในตัวอย่างนี้คือระวาง 5136 IV ความคลาดเคลื่อนจากสูตรไม่เกิน 3 เมตร
27
L L7017
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.