งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2  ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ ตรง กับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ตามคติ พราหมณ์ ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลัก  ต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทน โดย กำหนดให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปี ใหม่ ตั้งแต่ พ. ศ.2432 เป็นต้นมา  ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ ตรง กับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ตามคติ พราหมณ์ ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2 ครั้งนี้ ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลัก  ต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทน โดย กำหนดให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปี ใหม่ ตั้งแต่ พ. ศ.2432 เป็นต้นมา

3  ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการ เห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ไม่มี การรื่นเริงอะไรมากนัก สมควรที่จะฟื้นฟู ขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริง วันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้น ในกรุงเทพฯเป็นครั้งแรก  ในปี พ. ศ.2479 ก็ได้มีการจัดงานรื่นเริงปี ใหม่ทั่วทุกจังหวัด วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ในสมัยนั้น ทางราชการเรียกว่า วันตรุษสงกรานต์  ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการ เห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ไม่มี การรื่นเริงอะไรมากนัก สมควรที่จะฟื้นฟู ขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริง วันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้น ในกรุงเทพฯเป็นครั้งแรก  ในปี พ. ศ.2479 ก็ได้มีการจัดงานรื่นเริงปี ใหม่ทั่วทุกจังหวัด วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1 เมษายน ในสมัยนั้น ทางราชการเรียกว่า วันตรุษสงกรานต์

4  ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปี ใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดย คณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ขึ้น ซึ่งมี หลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธาน กรรมการ ที่ประชุมมีมติ เป็นเอก ฉันท์ ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็น วันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป  ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปี ใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดย คณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ขึ้น ซึ่งมี หลวงวิจิตรวาทการ เป็นประธาน กรรมการ ที่ประชุมมีมติ เป็นเอก ฉันท์ ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484 เป็น วันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป

5 1. การทำบุญตักบาตร 2. การกราบขอพรจากผู้ใหญ่ และอวย พรเพื่อนฝูง การมอบของขวัญ การ มอบช่อดอกไม้ หรือการส่งบัตรอวย พร 3. การจัดงานรื่นเริง การจัดเลี้ยงในหมู่ เพื่อนฝูง ญาติพี่น้องหรือตาม หน่วยงานต่างๆ 1. การทำบุญตักบาตร 2. การกราบขอพรจากผู้ใหญ่ และอวย พรเพื่อนฝูง การมอบของขวัญ การ มอบช่อดอกไม้ หรือการส่งบัตรอวย พร 3. การจัดงานรื่นเริง การจัดเลี้ยงในหมู่ เพื่อนฝูง ญาติพี่น้องหรือตาม หน่วยงานต่างๆ

6

7

8  ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ ขอให้มีความสุขกาย สบาย ใจ ปราศจาก ทุกข์โศก โรคภัย ทั้งหลายทั้งปวง ขออำนาจ คุณพระศรีรัตนตรัย จงดล บันดาลให้คณะครูนักเรียน โรงเรียนวัดชาวเหนือ พบ แต่ความสุข ความเจริญ ตลอดไปเทอญ  ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ ขอให้มีความสุขกาย สบาย ใจ ปราศจาก ทุกข์โศก โรคภัย ทั้งหลายทั้งปวง ขออำนาจ คุณพระศรีรัตนตรัย จงดล บันดาลให้คณะครูนักเรียน โรงเรียนวัดชาวเหนือ พบ แต่ความสุข ความเจริญ ตลอดไปเทอญ

9


ดาวน์โหลด ppt  ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google