งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร
การดำเนินงานของสหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร

2 สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด
ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 ที่ตั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทรศัพท์ โทรสาร

3 การผลิต เนื้อโคขุนคุณภาพสูง เพื่อทดแทนการนำเข้า
ปัจจุบันผลิตอยู่ปีละ 1,500 ตัว มูลค่า 50.5 ล้านบาท โคที่ลงทะเบียนเพื่อการหมุนเวียน 1,800 ตัว จำนวนฟาร์มสมาชิกที่ขุน 55 ฟาร์ม สมาชิกสหกรณ์ 183 คน

4 การตลาด แบร์นสินค้า KU Beef สโลแกน “เนื้อนุ่ม จากโคหนุ่ม ไขมันน้อย”
จำหน่ายเป็นเนื้อซากเย็น (Chill Carcass) จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนใหญ่ (Wholesale Cut) จำหน่ายเป็นเนื้อชิ้นส่วนย่อย (Retail Cut)

5 ลูกค้า ห้างโมเดินเทรด เทสโก้โลตัส คาร์ฟูร์ เดอะมอลล์ ตั้ง ฮั้ว เส็ง
ผู้ประกอบการ บริษัท โชคชัย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท บาร์บีคิวพลาซ่า บริษัท วอนนิวไทย บริษัท ไทยพรีเมี่ยม บริษัท เอฟแอนด์บี ฟูดส์ เซอร์วิซ บริษัท การบินไทย บริษัท บีเอ็ม ควอลิตี้ฟูดส์ จำกัด

6 การขุน ลงทะเบียนที่น้ำหนัก ระยะการขุน 8-10 เดือน
อาหารข้น หรืออาหารผสมเสร็จ (TMR) น้ำหนักที่เข้าฆ่า กิโลกรัม สมาชิกสหกรณ์มีกำไรประมาณการตัวละ 5,000-8,000 บาท

7 ปัญหาการผลิต อาหารสัตว์มีราคาสูง ตัวโคก่อนเข้ากระบวนการขุนหาซื้อยาก
และมีราคาแพง ระบบการผลิตโคเนื้อ วัคซีน

8 ปัญหาการตลาด การเปิดการค้าเสรี เนื้อลักลอบนำเข้า
การประชาสัมพันธ์ในเรื่องเนื้อคุณภาพ ภาพลักษณ์ (Image) ของเนื้อโคไทย ข่าวเกี่ยวกับโรคระบาด จุดจำหน่ายเนื้อโคขุนของสหกรณ์ ระเบียบและกฎหมาย เช่น ห้ามฆ่าโคเพศเมีย การเคลื่อนย้ายสัตว์

9 อนาคตของสหกรณ์ฯ ปี 2550 การผลิตเนื้อโคขุน ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 180 ตัว
มีโรงฆ่าสัตว์พร้อมห้องเย็นใหม่ มีจุดจำหน่ายเนื้อโคขุน (Butcher Shop) ของสหกรณ์เอง 2 จุด ใช้วิธีการจัดจำหน่ายเนื้อในรูปแบบใหม่ เช่น traceability มีการผลิตสินค้า เนื้อโคขุนร่วมกับเจ้าของแบรนด์ เช่น Natural Beef ปรับปรุงระบบการจัดการขนส่ง (logistic) มีการทำงานร่วมกับเครือข่ายต่างๆ

10 การวางระบบเครือข่ายในจังหวัด
เครือข่ายกลางน้ำ ผู้ซื้อลูกโคอย่านม จากเครือข่ายต้นน้ำ มาเลี้ยงในแปลงหญ้า เครือข่ายต้นน้ำ ผู้เลี้ยงแม่พันธุ์ เพื่อผลิตลูก เครือข่ายปลายน้ำ ผู้ซื้อโคจาก เครือข่ายกลางน้ำ เข้าสู่ระบบขุน เครือข่ายผู้ผลิตอาหารสัตว์ ผู้ผลิตนาหญ้า ผู้ปลูกมันสำปะหลัง

11 การสร้างเครือข่าย (Cluster)
กระตุ้นและส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่ม วิเคราะห์สถานภาพของเครือข่าย เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย กำหนดยุทธศาสตร์ของแต่ละเครือข่าย ปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์

12 ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัด ในการสร้างเครือข่ายธุรกิจโคเนื้อ
ลดต้นทุนการจัดซื้อ แบ่งหน้าที่และร่วมผลิตสินค้าตามลักษณะพื้นที่ที่ใช้เลี้ยงโค แบ่งภาระค่าใช้จ่าย ค่าบริหารจัดการ ร่วมกันเจรจาต่อรองตกลงได้ ร่วมกันทำการตลาด การขาย แบ่งผลกำไร ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐได้สะดวก เช่น สปก., สศก. เป็นต้น

13 แนวทางการร่วมเป็นเครือข่าย สหกรณ์โคเนื้อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จำกัด
เครือข่ายในการผลิตลูกโคจำหน่ายให้กับสหกรณ์ เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนโคในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์

14 เครือข่ายในการผลิตลูกโค จำหน่ายให้กับสหกรณ์
ต้องเป็นโคอย่านมน้ำหนักใกล้เคียงกัน จำนวนพอเพียงต่อการจัดระบบขนส่ง มีคอกรวมโคจำหน่ายเพื่อสะดวกในการคัดเลือก ต้องแจ้งจำนวนโคที่จะจำหน่ายล่วงหน้า 1 เดือน

15 เครือข่ายในการเป็นผู้ขุนในฐานะสมาชิกกลุ่มให้กับสหกรณ์ฯ
กลุ่มเครือข่ายต้องปฏิบัติตามระเบียบคู่มือการขุนของสหกรณ์ กลุ่มเครือข่ายต้องรับผิดชอบและบริหารกันเอง กลุ่มเครือข่ายต้องแจ้งให้สหกรณ์ทราบว่าจะสามารถผลิตโคขุนส่งให้สหกรณ์ฯ เดือนละกี่ตัว สหกรณ์ฯ จะเป็นผู้กำหนดโควตาของกลุ่มเครือข่ายในการส่งโคให้สหกรณ์

16 เครือข่ายในการใช้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์
เรื่องภาวะตลาดโคเนื้อในประเทศ เรื่องผลกระทบตามข้อตกลงการค้าเสรี เรื่องเงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เรื่องภาวะอาหารสัตว์ เรื่องพันธุ์โค เรื่องตลาดโคเนื้อต่างประเทศ เรื่องการประกวดพันธุ์โคเนื้อ

17 ความร่วมมือกับ สปก. ในปี 2550

18 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt โดย รศ.ดร.ชัยณรงค์ คันธพนิต ประธานกรรมการบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google